Collection: แฟ้มสะสมงาน ( e- Portfolio) นางสาวปิยะนาถ อินทร์แก้ว

นางสาวปิยะนาถ อินทร์แก้ว

แผนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทอง

ประวิตศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทอง

ประวัติความเป็นมา
                   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทอง หมู่ที่ 7 ตำบลเขาค่าย อ.สวี
จังหวัดชุมพร จัดตั้งขึ้นโดยนางแววตา นิยะกิจได้ร่วมกับผู้นำชุมชน ดำเนิน
การประสานขอ ใช้อาคารสถานที่อนามัยเก่า ซึ่งว่างเปล่า และเพื่อใช้ให้เกิด
ประโยชน์จึงได้ทำหนังสือขอใช้สถานที่ดังกล่าวเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน
ถ้ำตาทอง หมู่ที่ 7 ตำบลเขาค่าย และได้ทำการเปิดรับเลี้ยงดูเด็ก เมื่อวันที่
14 มกราคม พ.ศ. 2542 โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสวีเป็นหน่วย
งานรับผิดชอบในเรื่องค่าอาหารกลางวัน อาหารเสริม(นม)และค่าจ้างผู้ดูแล
เด็ก โดยรับเด็กปฐมวัยอายุ 2 ขวบครึ่งขึ้นไป จากหมู่ที่ 7 และหมู่บ้านใกล้
เคียง เดิมที่มีเด็กจำนวน 25 คน มีครูผู้ดูแลเด็ก 2 คน คือ นางเสาวคนธ์
เทพเลื่อน กับนางวรันธร นวลสว่าง โดยมีนายนุสิทธิ์ ชูชาติ เป็นประธาน
ศูนย์ฯในปี พ.ศ. 2543 มีรับเด็กเข้ารับบริการเพิ่มเป็น 38 คนและในปี พ.ศ.
2544 มีเด็กเพิ่มขึ้นเป็น 45 คนและในปีนี้ได้เปลี่ยนคณะกรรมการศูนย์ฯชุด
ใหม่โดยมีนายเกรียงศักดิ์ สินกัน เป็นประธานศูนย์ฯ ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 กรมพัฒนาชุมชน ได้ถ่ายโอนอำนาจการดูแล ให้กับองค์การบริหาร
ส่วนตำบลเขาค่าย มีเด็กทั้งหมดจำนวน 55 คน เพิ่มครูผู้ดูแลอีก 1 คนคือ
นางขวัญเรือน สิงอุดมและในปีพ.ศ. 2547 มีเด็กเข้ารับบริการเพิ่มเป็น 71
คนโดยมีนายกิตติ โพธิรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเขาค่าย เป็น
ประธานศูนย์ฯ ในปี พ.ศ. 2549 มีครูผู้ดูแลเพิ่มอีก 1 คนคือ นางสาววิลาวัลย์
แซ่ด่าน ในปี พ.ศ. 2550 ได้มีเด็กเพิ่มเป็น 106 คนมีครูผู้ดูแลเด็ก เพิ่มอีก 2
คน คือ นางสาวนิตยา ไชยจันทร์และนางสาวสุภาพร จามพัฒน์ ในปีพ.ศ.
2551ได้แต่งตั้ง นางเสาวคนธ์ เทพเลื่อน เป็นหัวหน้าศูนย์ฯ และได้รับงบ
ประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลเขาค่ายจำนวน 820,500 บาทสร้าง
อาคารหลังใหม่โดยได้ย้ายสถานที่ตั้งห่างจากสถานที่เดิมประมาณ 1,500
เมตร เนื่องจากสถานที่เดิมอยู่ริมคลอง น้ำท่วมบ่อยครั้ง ไม่สะดวกต่อการ
เลี้ยงดูเด็ก โดยสถานที่แห่งใหม่นี้มีเนื้อที่ประมาณ 1 ไร่ โดยนางสุมาลี ศรี
รุ่งเรือง เป็นผู้บริจาค ประกอบด้วยอาคารเรียน 1หลัง และได้งบช่วยเหลือ
จากปตท.สผ. 100,000 ในการสร้าง โรงอาหาร ในต้นปีพ.ศ 2552 ได้งบ
อุดหนุนเฉพาะกิจจากกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นสร้างอาคารตาม
มาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1หลัง งบประมาณ 2,472,000 บาท ปัจจุบัน
ปี 2559 มีเด็กทั้งหมด 116 คนมีครูผู้ดูแลเด็ก 3 คน ผู้ดูแลเด็ก 4 คน
ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทอง
                   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทองเป็นศูนย์ขนาดกลาง มีพื้นที่
ให้บริการ ทางการศึกษาจำนวน 7 หมู่บ้าน คือ
                   หมู่ที่ 3 ตำบลเขาค่าย ชื่อหมู่บ้านสวนเรียน
                   หมู่ที่ 4 ตำบลเขาค่าย ชื่อหมู่บ้านคลองเรียน
                   หมู่ที่ 5 ตำบลเขาค่าย ชื่อหมู่บ้านเขาหลัก
                   หมู่ที่ 7 ตำบลเขาค่าย ชื่อหมู่บ้านถ้ำตาทอง
                   หมู่ที่ 8 ตำบลเขาค่าย ชื่อหมู่บ้านขุนไกร
                   หมู่ที่ 9 ตำบลเขาค่าย ชื่อหมู่บ้านหนองกี่
                   หมู่ที่ 10 ตำบลเขาค่าย ชื่อหมู่บ้านวังประดิษฐ์
ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม คือทำสวนกาแฟ สวนผลไม้ และรับจ้างเก็บพืชผลทางการเกษตรมีการย้ายเข้าย้ายออกของประชากรตลอดเวลา ตามฤดูการเก็บเกี่ยวพืชผลในชุมชนการผสมผสานระหว่างประชากรที่อพยพมาจากหลายท้องที่ทั่วภูมิภาคไทยส่วนใหญ่เป็นคนมาจากภาคอีสาน ภาคใต้และมีชนต่างชาติเช่น ลาว พม่า เขมร ซึ่งมีประเพณีและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
             วิสัยทัศน์
             ศูนย์มีมาตรฐาน เด็กมีความพร้อม สิ่งแวดล้อมดี มีส่วนร่วมของชุมชน
             พันธกิจ
                   1. จัดหลักสูตรให้เหมาะสมกับวัย และความแตกต่างระหว่าง
บุคคลเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
                   2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ พัฒนาการใช้สื่อ
                   3. จัดการเรียนรู้โดยเน้นคุณธรรม จริยธรรม ดำเนินชีวิติโดย
ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                   4. จัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมกิจกรรมต่างๆร่วมกับชุมชน
เพื่อต่อไปจะได้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
             เป้าหมาย/นโยบาย
                   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทอง มีเป้าหมายในการพัฒนาศูนย์ฯและส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังนี้
                   - การดำเนินงานการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทอง
                   1. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดทำแผนการดำเนินงาน
เพื่อพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
                   2. การพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยใช้แหล่งเรียนรู้ของชุมชนเป็นฐาน
                   3. การร่วมระดมสรรพกำลังและทรัพยากรเพื่อการพัฒนาศูนย์
พัฒนาเด็กเล็ก
                   4. การประสานสัมพันธ์อันดีระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกับผู้
ปกครองและชุมชน
                   5. การรับความคิดเห็นของชุมชนต่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อนำ
ไปแก้ไขปรับปรุงเพื่อการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
                   6. การจัดกิจกรรมต่างๆร่วมกับชุมชน
                   7. การให้ความรู้ต่อผู้ปกครองในการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนา
เด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
                    - การดำเนินงานการส่งเสริมการดูแลเด็ก
                    1. จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทั้ง ๔ ด้าน คือร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญา
                    2. จัดกิจการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึง
ประสงค์
                    3. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กมีความรักชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์และความเป็นไทย
                    4. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านภาษา กระบวนการคิดและการแก้ไขปัญหา
                    5. จัดกิจกรรมให้เด็กรักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                    6. พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อ อุปกรณ์ให้เหมาะสม ปลอดภัย
และเอื้อต่อการเรียนรู้
                    7. จัดกิจกรรมส่งเสริมเด็กพิเศษให้มีโอกาสพัฒนาตนเองเต็ม
ตามศักยภาพ
                   คติพจน์
                  ให้ความรู้ ให้ความรัก ไม่เคร่งครัด ไม่เคร่งเครียด
                   หลักการจัดการศึกษา
                   เด็กทุกคนมีสิทธิที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการ
ตลอดจนการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ทีดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่
เด็กกับผู้เลี้ยงดูหรือบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูและ
ให้การศึกษาเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้น
ของพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลและเต็มศักยภาพ โดยยึดหลักการดังนี้
                  1. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็ก
ปฐมวัยทุกประเภท
                  2. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็น
สำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และวิถีชีวิตของเด็กตาม
บริบทของชุมชนสังคม และวัฒนธรรมไทย
                  3. พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นและกิจกรรมที่เหมาะสม
กับวัย
                  4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้
อย่างมีคุณภาพ และมีความสุข
                  5. ประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชน และสถาน
ศึกษาในการพัฒนาเด็ก

ข้อมูลบุคลากร

Details

นางสาวปิยะนาถ. อินทร์แก้ว

Details

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ-สกุล นางสาวปิะนาถ อินทร์แก้ว
ชื่อเล่น ครูเปิ้ล
รหัสนักศึกษา 571291321020 กลุ่ม G1
นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
ศูนย์นครศรีธรรมราช ตามโครงการความร่วมมือทางวิชาการกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับ
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ตำแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก
สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลเขาค่าย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ้ำตาทอง ม.7 ตำบลเขาค่าย อำเภอสวี จังหวัดชุมพร 86130
ว/ด/ป เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2524
อายุ 36 ปี
ที่อยู่ปัจจุบัน 8 หมู่ 10 ตำบลเขาค่าย อ.สวี จ.ชุมพร 86130
เบอร์โทรศัพท์มือถือ 080-1471108
E-mail : ple-namfa@hotmail.com

ทัศนคติที่มีต่อครูปฐมวัย รู้สึกภูมิใจและศรัทธาในอาชีพครูมากที่สุด จะสั่งสอนให้เด็กเป็นคนดีของประเทศชาติต่อไปครูปฐมวัยเป็นอาชีพที่เหนื่อยแต่รู้สึกภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างคนให้เป็นคนโดยสมบูรณ์ เติบโตแข็งแรงทั้งร่างกาย และจิตใจ สัญญาว่าจะเป็นครูที่ดีเท่าที่จะทำได้

 

ประวัติการศึกษาและการพัฒนาตนเอง

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษา โงเรียนบ้านนาโพธิ์ อ.สวี จ.ชุมพร
มัธยมศึกษา โรงเรียนสวีวิทยา อ.สวี จ.ชุมพร
จบปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

กำลังศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์นครศรีธรรมราช

ผลงานภาคการศึกษาที่ 1/2557

สื่อ/นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย

สื่อ/นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย

ผลงานภาคการศึกษาที่ 2/2557

แผนพัฒนาตนเองเพื่อก้าวสู่การเป็นครูปฐมวัยมืออาชีพ,งานสังเคราะห์และสรุปการก้าวสู่ความเป็นครูปฐมวัยมืออาชีพ

แผนพัฒนาตนเองเพื่อก้าวสู่การเป็นครูปฐมวัยมืออาชีพ,งานสังเคราะห์และสรุปการก้าวสู่ความเป็นครูปฐมวัยมืออาชีพ

ผลงานภาคฤดูร้อนปีการศึกษา 2557

โครงการพัฒนาทักษะภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

โครงการพัฒนาทักษะภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

ผลงานภาคการศึกษาที่ 1/2558

โครงการสิทธิของหนูเลี้ยงดูอย่างเข้าใจภายใต้บริบทพหุวัฒนธรรม,โครงการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

โครงการสิทธิของหนูเลี้ยงดูอย่างเข้าใจภายใต้บริบทพหุวัฒนธรรม,โครงการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลงานภาคการศึกษาที่ 2/2558

การบันทึกและสังเกตพฤติกรรมเด็ก,การบันทึกและสังเกตพฤติกรรมเด็ก

การบันทึกและสังเกตพฤติกรรมเด็ก,การบันทึกและสังเกตพฤติกรรมเด็ก

ผลงานภาคฤดูร้อนปีการศึกษา 2558

โครงการสายใยรักศิษย์-ลูก,บทความวิชาการ

โครงการสายใยรักศิษย์-ลูก,บทความวิชาการ

ผลงานภาคการศึกษาที่ 1/2559

โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยเด็กปฐมวัย,เมนูหนูน้อย,กิจกรรมการแสดงสำหรับเด็กปฐมวัย,กิจกรรมเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย

โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยเด็กปฐมวัย,เมนูหนูน้อย,กิจกรรมการแสดงสำหรับเด็กปฐมวัย,กิจกรรมเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย

ผลงานภาคการศึกษา 2/2559

ผลงานภาคการศึกษา 2/2559

ผลงานภาคการศึกษา 2/2559

ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2559

ภาคการศึกษาที่1 ปีการศึกษา 2559

ภาคการศึกษาที่1 ปีการศึกษา 2559

ผลงานภาคการศึกษา 3/2559

ผลงานภาคการศึกษา3/2559

ผลงานภาคการศึกษา3/2559

ผลงานภาคการศึกษา 1/2560

การออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยตามแนวทาง PLC,ผลงานการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยตามแนวทาง PLC

การออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยตามแนวทาง PLC,ผลงานการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยตามแนวทาง PLC

ผลงานภาคเรียนที่ 2/2560

หลักสูตรระยะสั้น,การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน,หลักสูตรสถานศึกษา

หลักสูตรระยะสั้น,การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน,หลักสูตรสถานศึกษา

การปฏิบัติการสอนโรงเรียนบ้านในหุบ ภาคเรียนที่ 1/61

การปฏิบัติการสอนใน โรงเรียนบ้านในหุบ ภาคเรียนที่ 1/61

การปฏิบัติการสอนใน โรงเรียนบ้านในหุบ ภาคเรียนที่ 1/61

ผลงานภาคเรียนที่ 1/2561

ผลงานภาคเรียนที่ 1/2561

ผลงานภาคเรียนที่ 1/2561

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2/61 โรงเรียนบ้านในหุบ

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2 /61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่1

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2 /61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่1

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2/61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่2

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2/61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่2

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2/61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่3

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2/61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่3

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2/61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่4

การปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ 2/61 โรงเรียนบ้านในหุบ ครั้งที่4

ผลงานภาคการศึกษา 2/2561

None that you can see