นิทานเรื่อง กระต่ายกับหมีผู้ซื่อสัตย์
นิทานเรื่อง กระต่ายกับหมีผู้ซื่อสัตย์
กระต่ายกับหมีเป็นเพื่อนรักกันคอยดูแลช่วยเหลือกันมาตลอด ทุกวันกระต่ายกับหมีจะเดินไปโรงเรียนด้วยกันเพราะบ้านของกระต่ายกับหมีอยู่ไม่ไกลนักจากโรงเรียน
ระหว่างทางที่ทั้งสองเดินไปโรงเรียนได้พบกระเป๋าตังค์ตกหล่นอยู่ข้างทาง พวกเขาจึงชวนกันเดินเข้าไปดูและเก็บมันขึ้นมา และเมื่อพวกเขาเปิดดูก็พบว่าข้างในกระเป๋ามีเงินอยู่จำนวนมาก กระต่ายกับหมีจึงรีบนำกระเป๋าตังค์ที่เก็บได้ไปให้คุณครูประจำชั้นที่โรงเรียน เพื่อที่จะประกาศหาเจ้าของ(2)
พอไปถึงโรงเรียนหนูกับหมูก็เห็นเพื่อนๆกำลังจะเข้าแถวกันอยู่ กระต่ายกับหมีจึงรีบไปเข้าแถวเคารพธงชาติกับเพื่อนของเขา (1) และกระต่ายกับหมีก็ได้นำกระเป๋าตังค์ที่เก็บได้ไปให้คุณครูประกาศหาเจ้าของหน้าเสาธง สักครู่ก็มีคุณครูคนหนึ่งวิ่งมาบอกว่ากระเป๋าตังค์ที่กระต่ายกับหมีเก็บได้เป็นของเขา คุณครูและเพื่อนๆในโรงเรียนต่างพากันชื่นชนในความซื่อสัตย์ของกระต่ายกับหมีเป็นอย่างมาก ที่นำกระเป๋าตังค์มาคืนเจ้าของ โดยไม่นำไปเป็นของตนเอง และคุณครูที่เป็นเจ้าของกระเป๋าตังค์ก็ได้มอบรางวัลเป็นเงินให้กระต่ายกับหมี 100 บาทด้วย กระต่ายจึงแบ่งเงินรางวัลให้หมีด้วย 50 บาทเท่ากัน (3)
พอถึงเวลาเลิกเรียนกระต่ายกับหมีและเพื่อนๆก็ได้ช่วยกันทำความสะอาดห้องเรียน (4) เมื่อทำความสะอาดห้องเรียนเสร็จกระต่ายกับหมีและเพื่อนๆก็ได้แยกย้ายกันกับบ้าน กระต่ายกับหมีก็เดินกลับบ้านด้วยกันเหมือนเดิม เมื่อกระต่ายกับหมีกลับถึงบ้านก็ได้เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้กับแม่ฟัง แม่กระต่ายกับหมีก็พากันชื่นชมในความซื่อสัตย์ของกระต่ายกับหมีว่าลูกของตนเป็นเด็กดีมีความซื่อสัตย์ กระต่ายกับหมีได้นำเงินที่คุณครูให้มาให้คุณแม่ คุณแม่ของกระต่ายกับหมีบอกว่าให้กระต่ายกับหมีนำเงินที่ได้มาไปหยอดกระปุกออมสินไว้ เมื่อหนูกับหมูอยากซื้ออะไรที่อยากได้ก็จะได้นำเงินที่พวกเขาออมไว้ไปซื้อได้ (5) หนูกับหมูรู้สึกภูมิใจในสิ่งที่เขาได้ทำเป็นอย่างมาก และสัญญากับตัวเองว่าจะเป็นเด็กนี้อย่างนี้ตลอดไป
กระต่ายกับหมีเป็นเพื่อนรักกันคอยดูแลช่วยเหลือกันมาตลอด ทุกวันกระต่ายกับหมีจะเดินไปโรงเรียนด้วยกันเพราะบ้านของกระต่ายกับหมีอยู่ไม่ไกลนักจากโรงเรียน
ระหว่างทางที่ทั้งสองเดินไปโรงเรียนได้พบกระเป๋าตังค์ตกหล่นอยู่ข้างทาง พวกเขาจึงชวนกันเดินเข้าไปดูและเก็บมันขึ้นมา และเมื่อพวกเขาเปิดดูก็พบว่าข้างในกระเป๋ามีเงินอยู่จำนวนมาก กระต่ายกับหมีจึงรีบนำกระเป๋าตังค์ที่เก็บได้ไปให้คุณครูประจำชั้นที่โรงเรียน เพื่อที่จะประกาศหาเจ้าของ(2)
พอไปถึงโรงเรียนหนูกับหมูก็เห็นเพื่อนๆกำลังจะเข้าแถวกันอยู่ กระต่ายกับหมีจึงรีบไปเข้าแถวเคารพธงชาติกับเพื่อนของเขา (1) และกระต่ายกับหมีก็ได้นำกระเป๋าตังค์ที่เก็บได้ไปให้คุณครูประกาศหาเจ้าของหน้าเสาธง สักครู่ก็มีคุณครูคนหนึ่งวิ่งมาบอกว่ากระเป๋าตังค์ที่กระต่ายกับหมีเก็บได้เป็นของเขา คุณครูและเพื่อนๆในโรงเรียนต่างพากันชื่นชนในความซื่อสัตย์ของกระต่ายกับหมีเป็นอย่างมาก ที่นำกระเป๋าตังค์มาคืนเจ้าของ โดยไม่นำไปเป็นของตนเอง และคุณครูที่เป็นเจ้าของกระเป๋าตังค์ก็ได้มอบรางวัลเป็นเงินให้กระต่ายกับหมี 100 บาทด้วย กระต่ายจึงแบ่งเงินรางวัลให้หมีด้วย 50 บาทเท่ากัน (3)
พอถึงเวลาเลิกเรียนกระต่ายกับหมีและเพื่อนๆก็ได้ช่วยกันทำความสะอาดห้องเรียน (4) เมื่อทำความสะอาดห้องเรียนเสร็จกระต่ายกับหมีและเพื่อนๆก็ได้แยกย้ายกันกับบ้าน กระต่ายกับหมีก็เดินกลับบ้านด้วยกันเหมือนเดิม เมื่อกระต่ายกับหมีกลับถึงบ้านก็ได้เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้กับแม่ฟัง แม่กระต่ายกับหมีก็พากันชื่นชมในความซื่อสัตย์ของกระต่ายกับหมีว่าลูกของตนเป็นเด็กดีมีความซื่อสัตย์ กระต่ายกับหมีได้นำเงินที่คุณครูให้มาให้คุณแม่ คุณแม่ของกระต่ายกับหมีบอกว่าให้กระต่ายกับหมีนำเงินที่ได้มาไปหยอดกระปุกออมสินไว้ เมื่อหนูกับหมูอยากซื้ออะไรที่อยากได้ก็จะได้นำเงินที่พวกเขาออมไว้ไปซื้อได้ (5) หนูกับหมูรู้สึกภูมิใจในสิ่งที่เขาได้ทำเป็นอย่างมาก และสัญญากับตัวเองว่าจะเป็นเด็กนี้อย่างนี้ตลอดไป
บันทึกการสะท้อนคิดบทเรียนที่ได้จาการพัฒนานิทาน
สิ่งที่เรียนรู้จากการสร้างนิทาน
1.รู้จักการค้นคว้าหาแนวทางในการทำสื่อหรือนิทาน
2.สามารถแต่งนิทานง่ายๆเข้าใจง่ายได้
3.คิดและวิเคราะห์แนวทางการทำนิทาน
4.สามารถพัฒนาสื่อหรือฝีมือตนเองขึ้นอีกระดับหนึ่ง
ความรู้สึกที่มีต่อการสร้างนิทาน
1. วิตกกังวลเรื่องการแต่งนิทาน
2.กลัวนิทานไม่เสร็จตรงตามเวลา
3.ไม่รู้จะแต่งนิทานเรื่องอะไร
4.แบบประเมินยังไม่เสร็จสมบูรณ์
5.กังวลเรื่องวีดีโอที่บันทึกจะออกมาไม่ดี
6.ไม่มีเด็กให้บันทึกวีดีโอเพราะปิดเทอม
มีขั้นตอนในการสร้างนิทานอย่างไร
1.เริ่มศึกษาการทำนิทาน เช่น ดูนิทานจากอินเตอร์เน็ต หรืออ่านจากหนังสือนิทาน
2.เริ่มจากการตั้งเค้าโครงนิทานว่ามีตัวละครอะไรบ้าง
3.เริ่มทำตัวนิทานหรือสื่อที่จะใช้ในการเล่านิทาน
4.ดูการวาดรูปหรือการ์ตูนง่ายๆสำหรับการวาดสื่อขึ้นเอง
5.แต่งนิทานขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับตัวสื่อ เช่น ทำนิทานเรื่อง กระต่ายกับหมีผู้ซื่อสัตย์ ก็จะวาดภาพที่เป็นรูปกระต่ายกับหมีขึ้นมา
ปัญหาอุสรรค
1.อินเตอร์เน็ตไม่เสถียร
2.วาดภาพยังไม่เสร็จสมบูรณ์
3.สมาธิไม่ค่อยมี
แนวทางแก้ไข
1.อาจจะใช้เน็ตส่วนตัว
2.หาเวลาว่างวาดภาพหรือสร้างสื่อให้เสร็จ
3.ตั้งใจให้มากตั้งสมาธิในการทำงานเพิ่มขึ้น
1.รู้จักการค้นคว้าหาแนวทางในการทำสื่อหรือนิทาน
2.สามารถแต่งนิทานง่ายๆเข้าใจง่ายได้
3.คิดและวิเคราะห์แนวทางการทำนิทาน
4.สามารถพัฒนาสื่อหรือฝีมือตนเองขึ้นอีกระดับหนึ่ง
ความรู้สึกที่มีต่อการสร้างนิทาน
1. วิตกกังวลเรื่องการแต่งนิทาน
2.กลัวนิทานไม่เสร็จตรงตามเวลา
3.ไม่รู้จะแต่งนิทานเรื่องอะไร
4.แบบประเมินยังไม่เสร็จสมบูรณ์
5.กังวลเรื่องวีดีโอที่บันทึกจะออกมาไม่ดี
6.ไม่มีเด็กให้บันทึกวีดีโอเพราะปิดเทอม
มีขั้นตอนในการสร้างนิทานอย่างไร
1.เริ่มศึกษาการทำนิทาน เช่น ดูนิทานจากอินเตอร์เน็ต หรืออ่านจากหนังสือนิทาน
2.เริ่มจากการตั้งเค้าโครงนิทานว่ามีตัวละครอะไรบ้าง
3.เริ่มทำตัวนิทานหรือสื่อที่จะใช้ในการเล่านิทาน
4.ดูการวาดรูปหรือการ์ตูนง่ายๆสำหรับการวาดสื่อขึ้นเอง
5.แต่งนิทานขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับตัวสื่อ เช่น ทำนิทานเรื่อง กระต่ายกับหมีผู้ซื่อสัตย์ ก็จะวาดภาพที่เป็นรูปกระต่ายกับหมีขึ้นมา
ปัญหาอุสรรค
1.อินเตอร์เน็ตไม่เสถียร
2.วาดภาพยังไม่เสร็จสมบูรณ์
3.สมาธิไม่ค่อยมี
แนวทางแก้ไข
1.อาจจะใช้เน็ตส่วนตัว
2.หาเวลาว่างวาดภาพหรือสร้างสื่อให้เสร็จ
3.ตั้งใจให้มากตั้งสมาธิในการทำงานเพิ่มขึ้น