การปฏิบัติการสอนใน ศพด.เทศบาลตำบลกำแพงภาคเรียนที่ 1/61 v.10

แผนการสอนหน่วยบ้านแสนสุข

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่    วันที่ 1 สาระการเรียนรู้ย่อย ความหมายและประโยชน์ของบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) เคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้

2) ปฏิบัติตามคาสั่ง

3) สำรวจเอวและสะโพกของตนเองและเพื่อนได้

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ

1) การปฏิบัติตามคาสั่ง 1) การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆตามความสามารถ

ของตนเอง

2) การสำรวจเอวและสะโพกของตนเองและเพื่อน 2) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหว

เคลื่อนที่

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

ขั้นนำ

1) เด็กและครูร่วมกันบริหารร่างกายท่าพื้นฐานเช่น วิ่งอยู่กับที่ กระโดดไปด้ายช้าย ด้านขวา

ขั้นสอน

2) ให้เด็กเคลื่อนไหวกิจกรรมพื้นฐาน โดยเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตาม

จังหวะ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ให้หยุดในท่านั้นทันที

3) ให้นักเรียนสำรวจร่างกายของตนเองโดยสังเกตหัว แขน ไหล่ มือ เอว สะโพก ฯลฯ

4) ให้นักเรียนเคลื่อนไหวเอว และสะโพกอยู่กับที่

ขั้นสรุป

5) นักเรียนเคลื่อนไหวเอวและสะโพกอยู่กับที่อย่างมีระดับ (สูง ต่า) ตามแบบครูอย่างช้า ๆ จากนั้น

ให้เด็กพักคลายกล้ามเนื้อในท่าที่สบาย

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

เครื่องเคาะจังหวะ

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

2) สังเกตการปฏิบัติตามคาสั่ง

3) สังเกตการณ์สำรวจเอวและสะโพกของตนเองและเพื่อน

 

 

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่    วันที่ 1 สาระการเรียนรู้ย่อย ความหมายและประโยชน์ของบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ์

ความคิดรวบยอด

บ้านเป็นที่อยู่อาศัยของคน ภายในบ้านมีห้องต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวก เช่น ห้องนอนมีไว้เพื่อ นอนหลับพักผ่อน มีเตียงนอน หมอน ผ้าห่ม เป็นต้น ภายในห้องแต่ละห้อง มีเครื่องใช้แตกต่างกันไปตามประโยชน์ของการใช้งาน ทุกคนในบ้านมีหน้าที่ดูแลรักษาความสะอาดบ้าน ทาให้บ้านน่าอยู่อาศัย

  1. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) สนทนาและตอบคาถามได้

2) กล้าแสดงความคิดเห็น

3) ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครูได้

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ

บ้านเป็นที่อยู่อาศัยของสมาชิกในครอบครัว 1) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเป็นที่พักผ่อน เป็นที่ที่ทากิจกรรมร่วมกันของสมาชิก 2) การร้องเพลง

ในครอบครัว

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูสนทนาร่วมกับเด็กเกี่ยวกับความหมายของบ้านและนาภาพครอบครัวอบอุ่นมาให้เด็กดู

2) ครูสอนเด็กร้องเพลง “บ้านของฉัน” ครูและเด็กร้องเพลงร่วมกัน

3) ครูและเด็กสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับเนื้อหา และความหมายของเพลงพร้อมกับนาภาพที่เกี่ยวกับบุคคล ในครอบครัว เช่น พ่อ แม่ ตา ยาย มาร่วมวงสนทนาเพิ่มเติม

4) เด็กและครูสรุปร่วมกันว่าบ้านคือสถานที่ที่สมาชิกในครอบครัวอยู่ร่วมกัน เป็นที่อยู่อาศัย เป็นที่ พักผ่อนและปูองกันภัยอันตรายต่าง ๆ

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

เพลง “บ้านของฉัน”

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการสนทนาและตอบคาถาม

2) สังเกตการกล้าแสดงความคิดเห็น

3) สังเกตการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครู

 

 

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่    วันที่ 1 สาระการเรียนรู้ย่อย ความหมายและประโยชน์ของบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมสร้างสรรค์
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) ใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับตา

2) มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น

3) อดทน รอคอย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ

- การฉีกปะกระดาษเป็นรูปบ้าน เป็นการพัฒนากล้ามเนื้อมือ 1) การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่

ให้สัมพันธ์กับตาทาให้เด็กมีสมาธิและทาให้เด็กรู้จัก สวยงาม

ปรับตัวในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 2) การปั้น

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูจัดกิจกรรมไว้ 2 กิจกรรมคือการวาดภาพด้วยสีเทียนและการปั้นดินน้ามัน

2) ครูแนะนาอุปกรณ์วิธีการปฏิบัติและทบทวนข้อตกลงในการปฏิบัติกิจกรรมการวาดภาพด้วยสีเทียนและการปั้นดินน้ามันดังนี้

2.1 การปั้นดินน้ามัน

- ครูแบ่งกลุ่มเด็กตามความเหมาะสม หรือกลุ่มประจาตัวเด็ก

- ครูแนะนาการปั้นดินน้ามันตามความคิดของตนเอง หรือปั้นจากเรื่องที่เรียน

- นาดินน้ามันให้แต่ละกลุ่ม ปั้นตามจินตนาการของตนเอง แล้วนาผลงานนาเสนอให้ครูและ

เพื่อนฟัง

- ให้เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์ต่างๆให้เรียบร้อย และนาเด็กไปล้างมือ

2.2 การวาดภาพด้วยสีเทียน

- เด็กและครูช่วยกันจัดโต๊ะเพื่อปฏิบัติกิจกรรมวาดภาพด้วยสีเทียนเสร็จแล้วครูอธิบาย

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมให้เด็กลงมือปฎิบัติตามความคิดและจินตนาการของตนเองอย่างอิสระโดยครูคอยดูแลห่างๆ

3) เด็กเลือกปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ แล้วนาผลงานมาบอกชื่อและเล่าเรื่องให้ครูจดบันทึก

4) ให้อาสาสมัครเลือกผลงานของตนเอง ระหว่างการวาดภาพด้วยสีเทียนและการปั้นดินน้ามันอย่างอิสระ มาเล่าให้เพื่อนฟัง

5) เมื่อหมดเวลาเด็กทุกคนช่วยกันจัดเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1) กระดาษกาว กระดาษสีต่าง ๆ สีเทียน

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับตา สังเกตการมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น

2) สังเกตความอดทน รอคอย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่    วันที่ 1 สาระการเรียนรู้ย่อย ความหมายและประโยชน์ของบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมเสรี
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) สังเกต สารวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการทางานและการเล่นเป็นกลุ่ม

2) มีประสบการณ์ตรงในการใช้ภาษา มีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ต่องานและสิ่งที่ตนเล่น

3) มีวินัย ความรับผิดชอบมีมารยาท ช่วยเหลือ แบ่งปัน อดทนรอคอยและมีจิตสาธารณะ

4) มีพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาอย่างสมดุลรอบด้าน

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้

การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่างๆ อย่างอิสระผ่านการเล่น ทดลอง คิดค้นคว้าสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาและการแสวงหาคาตอบ ซึ่งจะช่วยพัฒนาความคิด จินตนาการ ภาษาควบคู่ไปกับความมีวินัย ความรับผิดชอบ การรอคอย การแบ่งปัน การใฝุรู้และการอยู่ร่วมกันเพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม

ประสบการณ์สาคัญ

1) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่างๆจากแท่งไม้ บล็อก

2) การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์และการแยกชิ้นส่วน

3) การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น

4) การรับรู้ แสดงความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่นและชิ้นงาน

5) การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่างๆ

6) การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่าง รูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูแนะนาการเล่นการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามข้อตกลง

2) เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ

3) ครูให้คาแนะนา กระตุ้น ส่งเสริม ให้คาชมเชยเพื่อให้เด็กเกิดการพัฒนาอย่างสมดุลรอบด้านเต็มตาม

ศักยภาพ

4) ให้เด็กเล่นอย่างอิสระหลังจากเลิกเล่นให้เด็กทาความสะอาดอุปกรณ์ พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

-อุปกรณ์ต่างๆ ที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรี ต้องสอดคล้องสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้

  1. การประเมินผล

1) สังเกตพฤติกรรมการสารวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการทางานและการเล่นเป็นกลุ่ม

2) สังเกตการใช้ภาษา ตรวจผลงานการปฏิบัติกิจกรรมการคิดสร้างสรรค์ ต่องานและสิ่งที่เล่น

3) สังเกตความมีวินัย ความรับผิดชอบ มารยาท การช่วยเหลือ แบ่งปัน อดทนรอคอยและมีจิตสาธารณะ

4) สังเกตความก้าวหน้าของพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่    วันที่ 1 สาระการเรียนรู้ย่อย ความหมายและประโยชน์ของบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมกลางแจ้ง
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) ฝึกกล้ามเนื้อใหญ่ / เล็ก

2) มีความสนุกสนาน

3) เล่นเครื่องเล่นสนามได้ถูกวิธีและปลอดภัย

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ

- การเล่นเครื่องเล่นสนามที่ถูกวิธี ทาให้เด็กมีความปลอดภัย 1)การเล่นเครื่องเล่นอย่างปลอดภัย

ในการเล่น มีสุขภาพแข็งแรง และรู้จักแบ่งปันและรอคอย 2) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย

และกลุ่มใหญ่

4.วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูพาเด็กเดินแถวลงสนาม

2) ครูแนะนาชื่อเครื่องเล่นสนามแต่ละชนิด และการเล่นที่ถูกวิธี

3) ให้เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามตามความสนใจ โดยครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด

4) ล้างมือก่อนเข้าห้องเรียน

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

- เครื่องเล่นสนาม

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการเล่นเครื่องเล่นสนามที่ถูกวิธี

2) สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ / เล็ก

3) สังเกตการปฏิบัติกิจกรรม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 1 สาระการเรียนรู้ย่อย ความหมายและประโยชน์ของบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมเกมการศึกษา
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) เล่นเกมเรียงลาดับภาพบ้านจากเล็กไปหาใหญ่ได้

2) สังเกต จาแนก เปรียบเทียบได้

3) คิดหาเหตุผลตัดสินใจ แก้ปัญหาได้

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ

-เรียงลาดับขนาดรูปภาพบ้านต่างๆ 1) การเปรียบเทียบและเรียงลาดับ จานวนของสิ่ง

เป็นกิจกรรมที่ฝึกให้เด็กคิดและสังเกต 2) การเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น

รู้จักเปรียบเทียบ

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูแนะนาเล่นเกมเรียบเรียงลาดับภาพบ้าน

2) ให้เด็กแบ่งกลุ่มแล้วเล่นเกมเรียงลาดับภาพบ้าน จากเล็กไปใหญ่ได้ และหมุนเวียนกันเล่นเกมที่เคยเล่น มาแล้ว

3) เก็บของเข้าที่เมื่อเล่นเสร็จ

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

- เกมเรียงลาดับภาพจากเล็ก-ใหญ่

  1. การประเมินผล

1) สังเกตความสนใจในการเล่นเกม

2) สังเกตการณ์จำแนก เปรียบเทียบ

3) สังเกตการหาเหตุผลตัดสินใจ แก้ปัญหา

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 2 สาระการเรียนรู้ย่อยพื้นที่และบริเวณรอบบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) เคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

2) พัฒนาความคิดและจินตนาการ

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ

- การทาท่าทางตามจินตนาการประกอบคาบรรยาย 1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหว

เคลื่อนที่

2) การเล่นบทบาทสมมติ

  1. วิธีจัดกิจกรรม

1) ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระ

2) ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะและสัญญาณ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดแล้วทาท่าทางตามจินตนาการ“บ้านเราสวยงามน่าอยู่ เพราะเราช่วยกันปลูกต้นไม้ ดอกไม้ รดน้าต้นไม้ พรวนดิน และเรายังช่วยกันทาความสะอาดบ้าน กวาดบ้าน ถูบ้าน”

3) ให้เด็กพักคลายในท่าที่สบาย

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1) คาบรรยาย

2) เครื่องให้จังหวะ

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

2) สังเกตการเคลื่อนไหวตามคาบรรยาย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 2 สาระการเรียนรู้ย่อยพื้นที่และบริเวณรอบบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ์

ความคิดรวบยอด

บริเวณรอบ ๆ บ้าน มีสิ่งต่าง ๆ มากมาย เช่นสนามหญ้า ต้นไม้ ดอกไม้ รั้วบ้าน ซึ่งต้องคอยดูแล

ให้สะอาดสวยงามอยู่เสมอ

  1. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) บอกชื่อสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่บริเวณรอบบ้านได้

2) บอกลักษณะพื้นที่บริเวณบ้านได้

3) บอกลักษณะของรูป ได้

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ

บริเวณรอบ ๆ บ้าน มีสิ่งต่าง ๆ มากมาย เช่น 1) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สนามหญ้า ต้นไม้ ดอกไม้ รั้วบ้าน ซึ่งต้องคอยดูแลให้ 2) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทร้อย

กรองหรือเรื่องราวต่างๆ

สะอาดสวยงามอยู่เสมอ

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูนารูปภาพบ้านและบริเวณรอบบ้านมาให้เด็กดู และสนทนาประกอบรูปภาพ

2) ให้เด็กบอกชื่อต้นไม้ ดอกไม้ และสิ่งของที่ใช้ตกแต่งบริเวณรอบบ้าน

3) ให้เด็กทบทวนคาคล้องจองบ้านหลังหนึ่ง

4) ครูนาบัตรภาพรูป ให้เด็กดูและสังเกตลักษณะของรูป

5) ให้อาสาสมัครคนอื่นๆออกมาหยิบบัตรจนครบทุกคน

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1) รูปภาพบริเวณบ้าน

2) รูป

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการบอกสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่บริเวณรอบบ้าน

2) สังเกตการบอกลักษณะรูป

3) สังเกตการบอกลักษณะพื้นที่บริเวณบ้าน

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 2 สาระการเรียนรู้ย่อยพื้นที่และบริเวณรอบบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมสร้างสรรค์
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) ใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับตาได้

2) มีความสนุกสนาน คลายเครียด

3) มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ

- การขีดเส้นตามรอยปะและการระบายสี 1) การชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงาม

ทาให้เด็กคลายเครียดและมีสมาธิ และยังเป็นการพัฒนา 2) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อวัสดุกล้ามเนื้อมือให้แข็งแรง เพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนต่อไป ต่างๆ

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูจัดเตรียมอุปกรณ์และให้คาแนะนาในการปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ 2 กิจกรรม

2) ครูแนะนาการวาดภาพระบายสีตามจินตนาการ และการฉีกปะกระดาษสี ดังนี้

2.1) การขีดเส้นตามรอยปะและการระบายสี

- ครูและเด็กช่วยกันเตรียมอุปกรณ์

- ครูแนะนาการขีดเส้นตามรอยประภาพบ้านและวิธีระบายสี

- ครูแจกอุปกรณ์และให้เด็กขีดเส้นระบายสี โดยครูคอยดูแลแนะนาอยู่ห่าง ๆ

- เก็บอุปกรณ์เข้าที่เมื่อทางานเสร็จ

2.2) การวาดภาพ ระบายสีตามจินตนาการ

- ครูแนะนาการปฏิบัติกิจกรรมการวาดภาพ

- แบ่งกลุ่มเด็ก และให้ตัวแทนมารับใบงานไปแจกเพื่อนๆ

- ครูให้การแนะนา ช่วยเหลือเด็กที่ไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้

3) เด็กเลือกปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ แล้วนาผลงานมาบอกชื่อและเล่าเรื่องให้ครูจดบันทึก

4) ให้อาสาสมัครเลือกผลงานของตนเอง ระหว่างการวาดภาพระบายสีตามจินตนาการ และการฉีกปะ

กระดาษสีมาเล่าให้เพื่อนฟัง

5) เมื่อหมดเวลาเด็กทุกคนช่วยกันจัดเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1) ภาพบ้าน

2) ดินสอ

3) สีไม้ สีเทียน

  1. การประเมินผล

1) สังเกตความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ

2) สังเกตความสนุกสนาน คลายเครียด

3) สังเกตการใช้ทักษะทางภาษาในการนาเสนอผลงาน

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 2 สาระการเรียนรู้ย่อยพื้นที่และบริเวณรอบบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมเสรี
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) สังเกต สารวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการทางานและการเล่นเป็นกลุ่ม

2) มีประสบการณ์ตรงในการใช้ภาษา มีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ต่องานและสิ่งที่ตนเล่น

3) มีวินัย ความรับผิดชอบมีมารยาท ช่วยเหลือ แบ่งปัน อดทนรอคอยและมีจิตสาธารณะ

4) มีพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาอย่างสมดุลรอบด้าน

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้

การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่างๆ อย่างอิสระผ่านการเล่น ทดลอง คิดค้นคว้าสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาและการแสวงหาคาตอบ ซึ่งจะช่วยพัฒนาความคิด จินตนาการ ภาษาควบคู่ไปกับความมีวินัย ความรับผิดชอบ การรอคอย การแบ่งปัน การใฝุรู้และการอยู่ร่วมกันเพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม

ประสบการณ์สาคัญ

1) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างสิ่งต่างๆจากแท่งไม้ บล็อก

2) การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้สมบูรณ์และการแยกชิ้นส่วน

3) การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น

4) การรับรู้ แสดงความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่นและชิ้นงาน

5) การเล่นตามมุมประสบการณ์/มุมเล่นต่างๆ

6) การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้รูปร่าง รูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูแนะนาการเล่นการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามข้อตกลง

2) เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ

3) ครูให้คาแนะนา กระตุ้น ส่งเสริม ให้คาชมเชยเพื่อให้เด็กเกิดการพัฒนาอย่างสมดุลรอบด้านเต็มตาม

ศักยภาพ

4) ให้เด็กเล่นอย่างอิสระหลังจากเลิกเล่นให้เด็กทาความสะอาดอุปกรณ์ พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

-อุปกรณ์ต่างๆ ที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรี ต้องสอดคล้องสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้

  1. การประเมินผล

1) สังเกตพฤติกรรมการสารวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการทางานและการเล่นเป็นกลุ่ม

2) สังเกตการใช้ภาษา ตรวจผลงานการปฏิบัติกิจกรรมการคิดสร้างสรรค์ ต่องานและสิ่งที่เล่น

3) สังเกตความมีวินัย ความรับผิดชอบ มารยาท การช่วยเหลือ แบ่งปัน อดทนรอคอยและมีจิตสาธารณะ

4) สังเกตความก้าวหน้าของพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 2 สาระการเรียนรู้ย่อยพื้นที่และบริเวณรอบบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมกลางแจ้ง
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) ปฏิบัติตามข้อตกลงและคาสั่งได้

2) เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้

3) จาแนกรูปสามเหลี่ยมจากรูปอื่นได้

  1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ

การเล่นเกม วิ่งเก็บของ ทาให้เด็กเกิดความสนุกสนาน 1) การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสาน

ส่งเสริมการเล่นร่วมกันเป็นกลุ่ม สัมพันธ์ของการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการขว้าง การจับ การโยน การเตะ

2) การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆตามความสามารถของ ตนเอง

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูแนะนาและสาธิตการเล่นเกม วิ่งเก็บของ

2) ครูนารูปภาพสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และรูปวงกลม ไปวางไว้กลางสนาม

3) แบ่งเด็กเป็น 3 กลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มแบ่งกันวิ่งไปเก็บรูปสามเหลี่ยมที่ครูวางไว้

4) กลุ่มใดเก็บได้มากที่สุด กลุ่มนั้นชนะ

5) ล้างมือก่อนเข้าห้องเรียน

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

- รูปภาพ สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง

2) สังเกตการทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น

3) สังเกตการจาแนกรูปสามเหลี่ยมจากรูปอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 2 สาระการเรียนรู้ย่อยพื้นที่และบริเวณรอบบ้าน

  1. ชื่อกิจกรรมเกมการศึกษา
  2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1) สังเกต จาแนก เปรียบเทียบได้

2) เล่นเกมจับคู่รูปภาพกับเงาได้

3) เก็บของเล่นเข้าที่เมื่อเลิกเล่น

  1. สาระการเรียนรู้

 

สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สาคัญ

-การเล่นเกมจับคู่รูปภาพกับเงา 1) การจับคู่ การเปรียบเทียบและการเรียงลาดับสิ่งต่างๆตาม

ลักษณะความยาว/ความสูง น้าหนัก ปริมาตร 2) การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่

  1. วิธีการจัดกิจกรรม

1) ครูแนะนาและสาธิตวิธีการเล่นเกมจับคู่รูปภาพกับเงา

2) แบ่งเด็กออกเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม

3) ให้เด็กเล่นเกมจับคู่รูปภาพกับเงา แล้วหมุนเวียนกันเล่นเกมที่เคยเล่นมาแล้ว

4) เก็บของเข้าที่เมื่อเลิกเล่น

  1. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1) เกมจับคู่รูปภาพกับเงา

2) เกมที่เคยเล่นมาแล้ว

  1. การประเมินผล

1) สังเกตการณ์จำแนก เปรียบเทียบ

2) สังเกตความสนใจในการเล่นเกม

3) สังเกตความรับผิดชอบในการเก็บสิ่งของต่าง ๆ เข้า

 

 

 

 

 

 

 

ผังมโนทัศน์

Details

การปฏิบัติการสอนหน่วยที่ 3 บ้านแสนสุข

Image

Details

ข้อมูลที่จัดเก็บ

  • โครงสร้างหน่วยการเรียนตลอดภาคเรียน
  • ผังมโนทัศน์ประจำหน่วยการเรียน
  • สื่อ 4 ชิ้น
  • ป้ายนิเทศ 4 ชิ้น
  • โครงการพัฒนาผู้เรียน
  • กิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชุมชน
  • การบันทึกรายงานผลงานและการพัฒนาตนเอง
  • แฟ้มแสดงผลงานครู
  • บันทึกสรุปกิจกรรมการนิเทศ
Details

กรณี วิดีโอและการจัดประสบการณ์

  1. VDO บริบทของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ความยาว 3-5 นาที ประกอบด้วย การเปรียบเทียบศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอดีตและภาพในปัจจุบันในมุมมองต่างๆ เช่น ป้ายศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สภาพแวดล้อมภายนอก สภาพห้องเรียน มุมประสบการณ์ เป็นต้น (ศพด.น่าอยู่และปลอดภัย)
  2. VDO การสอนเสริมประสบการณ์ (กิจกรรมวงกลม) สอนอย่างไรถึงจะเรียกว่ายึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
  3. VDO การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวหรือเกมกลางแจ้ง หรือ เคลื่อนไหวและจังหวะ (ร้องเล่นเต้นรำ)

ข้อควรระวัง

VDO ก่อนนำเข้าระบบควรมีการตรวจสอบโดยคำนึงถึงหลักการศึกษาปฐมวัยและสิทธิเด็กเป็นสำคัญ

บันทึกรายงานการฝึกปฏิบัติการสอน 1

Text