ถอดบทเรียน
ใบงาน ถอดบทเรียน
รหัสนักศึกษา571111321073 ชื่อผู้นางอำพร กัณหาวัลย์ ผู้ถอดบทเรียน
การถอดบทเรียน
1.สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ จากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก = คือครูได้รับประสบการณ์การทำงาน ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนาเด็ก เกิดความภาคภูมิใจในการทำงาน เด็กเกิดการเรียนรู้เด็กได้เข้าใจคำว่าความมีน้ำใจ รู้จักแบ่งปัน
2.ผลที่ได้รับจากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับที่คาดหวังไว้)= น้อยกว่าที่คาดหวังไว้
3.ระบุสาเหตุที่ทำให้เกิดความต่างกันระหว่าง สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ กับ ผลที่ได้รับ ตอบ สาเหตุเกิดจากการถูกจำกัดด้วยเวลา จึงทำให้สิ่งที่คาดว่าจะได้รับกับผลที่ได้รับต่างกัน การใช้นิทานเป็นสื่อถ่ายทอดคุณธรรมจริยธรรมให้กับเด็กควรทำอย่างต่อเนื่องแต่ช่วงเวลาที่จัดตรงกับช่วงเวลาที่เด็กปิดเทอมพอดี จึงทำให้การจัดกิจกรรมทำได้ไม่เต็มที่
4.บทเรียนที่ได้รับสิ่งที่เรียนรู้จากสาเหตุที่ทำให้เกิดความแตกต่างที่พบ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงาน วิธีการเติมช่องว่างจากสิ่งที่คาดว่าจะได้รับกับผลที่ได้รับ ตอบ เมื่อจัดกิจกรรมในช่วงเวลาปิดเทอมในศูนย์ไม่ได้เต็มที่ ครูจึงตามไปจัดกิจกรรมถึงบ้านเด็กและพยายามหาเทคนิคแรงจูงใจให้เด็กเกิดความสนใจในนิทานมากขึ้น
5.จากกิจกรรมการพัฒนานิทานคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาคิดว่า ครูปฐมวัย ต้องสื่อสารกับตนเอง เพื่อน เด็ก ผู้ปกครองและชุมชนเพื่อวัตถุประสงค์อะไรบ้าง วิธีการสื่อสารใช้วิธีการใดได้บ้าง ความถี่ที่ต้องใช้ในการสื่อสารกับคนแต่ละกลุ่มควรมีความถี่มากน้อยแค่ไหน
6.นักศึกษาได้มีการพัฒนาบุคลิกภาพของครูปฐมวัยอย่างไรบ้าง ระหว่างการทำกิจกรรมเล่านิทาน การทำใบงาน และการสื่อสารในกิจกรรมดังกล่าว ตอบ พัฒนาทักษะและเทคนิคในการเล่านิทานเพื่อให้เกิดความสนใจมากขึ้นและได้ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตเพื่อพัฒนาความเป็นครูปฐมวัยที่ก้าวทันสมัย
7.คุณธรรม จริยธรรม และ จริยศาสตร์ด้านใดบ้างที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรมดังกล่าว ตอบ มีสติ มีความอดทน มีความมุ่งมั่นตั้งใจมีความพยายมาในการทำกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
8.แฟ้มผลงานที่ทำขึ้นสามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานตอบมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยตอนตรวจประกันคุณภาพได้อย่างไรบ้าง
ตอบ ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงประกอบการทำงานของครูและนำมาเป็นหลักฐานการประเมินความรู้ความสามารถของเด็ก
รหัสนักศึกษา571111321073 ชื่อผู้นางอำพร กัณหาวัลย์ ผู้ถอดบทเรียน
การถอดบทเรียน
1.สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ จากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก = คือครูได้รับประสบการณ์การทำงาน ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนาเด็ก เกิดความภาคภูมิใจในการทำงาน เด็กเกิดการเรียนรู้เด็กได้เข้าใจคำว่าความมีน้ำใจ รู้จักแบ่งปัน
2.ผลที่ได้รับจากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับที่คาดหวังไว้)= น้อยกว่าที่คาดหวังไว้
3.ระบุสาเหตุที่ทำให้เกิดความต่างกันระหว่าง สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ กับ ผลที่ได้รับ ตอบ สาเหตุเกิดจากการถูกจำกัดด้วยเวลา จึงทำให้สิ่งที่คาดว่าจะได้รับกับผลที่ได้รับต่างกัน การใช้นิทานเป็นสื่อถ่ายทอดคุณธรรมจริยธรรมให้กับเด็กควรทำอย่างต่อเนื่องแต่ช่วงเวลาที่จัดตรงกับช่วงเวลาที่เด็กปิดเทอมพอดี จึงทำให้การจัดกิจกรรมทำได้ไม่เต็มที่
4.บทเรียนที่ได้รับสิ่งที่เรียนรู้จากสาเหตุที่ทำให้เกิดความแตกต่างที่พบ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงาน วิธีการเติมช่องว่างจากสิ่งที่คาดว่าจะได้รับกับผลที่ได้รับ ตอบ เมื่อจัดกิจกรรมในช่วงเวลาปิดเทอมในศูนย์ไม่ได้เต็มที่ ครูจึงตามไปจัดกิจกรรมถึงบ้านเด็กและพยายามหาเทคนิคแรงจูงใจให้เด็กเกิดความสนใจในนิทานมากขึ้น
5.จากกิจกรรมการพัฒนานิทานคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาคิดว่า ครูปฐมวัย ต้องสื่อสารกับตนเอง เพื่อน เด็ก ผู้ปกครองและชุมชนเพื่อวัตถุประสงค์อะไรบ้าง วิธีการสื่อสารใช้วิธีการใดได้บ้าง ความถี่ที่ต้องใช้ในการสื่อสารกับคนแต่ละกลุ่มควรมีความถี่มากน้อยแค่ไหน
6.นักศึกษาได้มีการพัฒนาบุคลิกภาพของครูปฐมวัยอย่างไรบ้าง ระหว่างการทำกิจกรรมเล่านิทาน การทำใบงาน และการสื่อสารในกิจกรรมดังกล่าว ตอบ พัฒนาทักษะและเทคนิคในการเล่านิทานเพื่อให้เกิดความสนใจมากขึ้นและได้ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตเพื่อพัฒนาความเป็นครูปฐมวัยที่ก้าวทันสมัย
7.คุณธรรม จริยธรรม และ จริยศาสตร์ด้านใดบ้างที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรมดังกล่าว ตอบ มีสติ มีความอดทน มีความมุ่งมั่นตั้งใจมีความพยายมาในการทำกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จ
8.แฟ้มผลงานที่ทำขึ้นสามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานตอบมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยตอนตรวจประกันคุณภาพได้อย่างไรบ้าง
ตอบ ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงประกอบการทำงานของครูและนำมาเป็นหลักฐานการประเมินความรู้ความสามารถของเด็ก