VDO การเล่านิทานครั้งที่1
บันทึกสะท้อนการเล่านิทาน
เทคนิคการเล่านิทาน
1.ขั้นเร้าความสนใจ
1.1 ครูนำเด็กเข้าสู่เรื่องราว เช่น การร้องเพลง
1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเล่านิทานให้เด็กทราบ
1.3 ครูอธิบายเกี่ยวกับข้อตกลงร่วมกันในการฟังนิทาน
2. ขั้นกิจกรรม
2.1 ครูเล่านิทานประกอบสื่อโดยใช้สื่อ หนังสือภาพ ในระหว่างการเล่านิทานเด็กจะสามารถสนทนา ซักถาม 3 – 4 คำถาม เนื้อหาในนิทานร่วมกันกับครูได้
2.2 ครูกระตุ้นเด็กโดยการใช้คำถามปลายเปิด เมื่อเด็กตอบคำถามปลายเปิดเมื่อเด็กตอบคำถาม คำถามชี้นำจนได้รับคำตอบที่สมเหตุสมผลและการแก้ปัญหา พร้อมกับความคิดสร้างสรรค์ตามจินตนาการ ครูจดบันทึกคำตอบของเด็กไว้
3.ขั้นสรุป
3.1 ครูถามเกี่ยวกับการสังเกตเปรียบเทียบความเหมือนความต่าง การจัดลำดับ และการระบุประเด็น
3.2 ครูให้เด็กแต่ละคนตั้งคำถามจากเรื่อง และวิธีการหาคำตอบ รวบรวมประเด็น
3.3 ครูนำใบงานวัดความคิดสร้างสรรค์มาให้เด็กทำ เพื่อสรุปทบทวนเนื้อหาในนิทาน ครูแจกใบงาน เช่นวาดภาพตามจินตนาการตามเนื้อหาในนิทาน/ เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อน – หลัง /การเปรียบเทียบความเหมือนความต่าง/การจัดลำดับ
ปัญหา
1.ครูมีเวลาผลิตนิทานน้อยและไม่มีประสบการณ์แต่งนิทาน เนื้อเรื่อง วาดภาพ รูปแบบการเล่า
วิธีแก้ปัญหา
1. ขอคำปรึกษาจากอาจารย์ผูสอน เพื่อนรวมงาน ผู้ปกครอง
2. เพิ่มเทคนิคการเล่านิทานให้น่าสนใจมากขึ้นใช้คำถามกระตุ้นการมีส่วนร่วมของเด็กเป็นระยะๆ นิทานควรสั้นกระชับสมวัยของเด็ก
1.ขั้นเร้าความสนใจ
1.1 ครูนำเด็กเข้าสู่เรื่องราว เช่น การร้องเพลง
1.2 ครูแจ้งจุดประสงค์การเล่านิทานให้เด็กทราบ
1.3 ครูอธิบายเกี่ยวกับข้อตกลงร่วมกันในการฟังนิทาน
2. ขั้นกิจกรรม
2.1 ครูเล่านิทานประกอบสื่อโดยใช้สื่อ หนังสือภาพ ในระหว่างการเล่านิทานเด็กจะสามารถสนทนา ซักถาม 3 – 4 คำถาม เนื้อหาในนิทานร่วมกันกับครูได้
2.2 ครูกระตุ้นเด็กโดยการใช้คำถามปลายเปิด เมื่อเด็กตอบคำถามปลายเปิดเมื่อเด็กตอบคำถาม คำถามชี้นำจนได้รับคำตอบที่สมเหตุสมผลและการแก้ปัญหา พร้อมกับความคิดสร้างสรรค์ตามจินตนาการ ครูจดบันทึกคำตอบของเด็กไว้
3.ขั้นสรุป
3.1 ครูถามเกี่ยวกับการสังเกตเปรียบเทียบความเหมือนความต่าง การจัดลำดับ และการระบุประเด็น
3.2 ครูให้เด็กแต่ละคนตั้งคำถามจากเรื่อง และวิธีการหาคำตอบ รวบรวมประเด็น
3.3 ครูนำใบงานวัดความคิดสร้างสรรค์มาให้เด็กทำ เพื่อสรุปทบทวนเนื้อหาในนิทาน ครูแจกใบงาน เช่นวาดภาพตามจินตนาการตามเนื้อหาในนิทาน/ เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อน – หลัง /การเปรียบเทียบความเหมือนความต่าง/การจัดลำดับ
ปัญหา
1.ครูมีเวลาผลิตนิทานน้อยและไม่มีประสบการณ์แต่งนิทาน เนื้อเรื่อง วาดภาพ รูปแบบการเล่า
วิธีแก้ปัญหา
1. ขอคำปรึกษาจากอาจารย์ผูสอน เพื่อนรวมงาน ผู้ปกครอง
2. เพิ่มเทคนิคการเล่านิทานให้น่าสนใจมากขึ้นใช้คำถามกระตุ้นการมีส่วนร่วมของเด็กเป็นระยะๆ นิทานควรสั้นกระชับสมวัยของเด็ก
ถอดบทเรียน
ใบงาน ถอดบทเรียน
รหัสนักศึกษา 571111321241 ชื่อผู้ถอดบทเรียน นางสาวนพมาศ ดีแสน
การถอดบทเรียน
1. สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ จากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ได้เรียนรู้ขั้นตอนการผลิตนิทานตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการนำไปใช้ และการปรับปรุงแก้ไขให้เข้ากับการใช้งานจริง
2. ข้อดี ข้อเสีย การประเมินผลต่างๆได้รับความรู้ใหม่ๆขึ้นกว่าเดิมเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างเต็มที่
ผลที่ได้รับจากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับที่คาดหวังไว้)
- ได้ผลมากเนื่องจากที่ผ่านมาเวลาทำสื่อนิทานแล้วนำไปใช้ก็จะไม่ได้ตรวจสอบรายละเอียดและประเมินผล จึงทำให้ไม่ทราบความพึงพอใจของเด็ก ผู้ปกครอง ครู อย่างแท้จริง
3.ระบุสาเหตุที่ทำให้เกิดความต่างกันระหว่าง สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ กับ ผลที่ได้รับ
- เวลาในการใช้งานกับเด็กค่อนข้างน้อยเพราะอยู่ในช่วงปิดเทอมทำให้ขาดการดำเนินการอย่างต่อเนื่องอย่างที่คาดหวังไว้
4.บทเรียนที่ได้รับสิ่งที่เรียนรู้จากสาเหตุที่ทำให้เกิดความแตกต่างที่พบ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงาน วิธีการเติมช่องว่างจากสิ่งที่คาดว่าจะได้รับกับผลที่ได้รับ
- ได้ทราบข้อดี ข้อเสีย และได้หาทางแก้ไขปัญหาร่วมกันกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนร่วมงาน ได้ข้อเสนอแนะจากผู้รู้ ส่งผลให้ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆเพิ่มขึ้นจากเดิมพัฒนาไปในทางที่ถูกมากขึ้น
6.นักศึกษาได้มีการพัฒนาบุคลิกภาพของครูปฐมวัยอย่างไรบ้าง ระหว่างการทำกิจกรรมเล่านิทาน การทำใบงาน และการสื่อสารในกิจกรรมดังกล่าว
- มีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพไปในทางที่ดีขึ้น ได้รู้จุดแข็ง จุดอ่อน ของตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมชั้นเรียน เด็ก ผู้ปกครอง เพิ่มมากขึ้นอย่างเป็นระบบกว่าเดิม
7.คุณธรรม จริยธรรม และ จริยศาสตร์ด้านใดบ้างที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรมดังกล่าว
1.ครูต้องมีความขยันหมั่นเพียร
2.ครูต้องมีวินัยตนเอง
3.ครูต้องรู้จักปรับปรุงตนเอง
4.ครูต้องให้ความช่วยเหลือผู้อื่น
5.ครูต้องบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน
6.ครูต้องรู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
7.ครูต้องมีความกตัญญูกตเวที
8.ครูต้องไม่ประมาท
9.ครูต้องมีสัจจะและแสดงความจริงใจ
10.ครูต้องมีความเมตตากรุณา
11.ครูต้องมีความอดทน อดกลั้น
12.ครูต้องมีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา
13.ครูต้องมีการให้อภัย
14.ครูต้องประหยัดและอดออม
15.ครูต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
16.ครูต้องมีความรับผิดชอบ
17.ครูต้องจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
8. แฟ้มผลงานที่ทำขึ้นสามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานตอบมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยตอนตรวจประกันคุณภาพได้อย่างไรบ้าง. - มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเด็กอย่างเต็มศักยภาพ เน้นคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ - มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล - ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทอย่างเต็มศักยภาพอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
รหัสนักศึกษา 571111321241 ชื่อผู้ถอดบทเรียน นางสาวนพมาศ ดีแสน
การถอดบทเรียน
1. สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ จากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ได้เรียนรู้ขั้นตอนการผลิตนิทานตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการนำไปใช้ และการปรับปรุงแก้ไขให้เข้ากับการใช้งานจริง
2. ข้อดี ข้อเสีย การประเมินผลต่างๆได้รับความรู้ใหม่ๆขึ้นกว่าเดิมเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้อย่างเต็มที่
ผลที่ได้รับจากการพัฒนานิทานคุณธรรมจริยธรรม การทำใบงาน และนำไปทดลองใช้ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับที่คาดหวังไว้)
- ได้ผลมากเนื่องจากที่ผ่านมาเวลาทำสื่อนิทานแล้วนำไปใช้ก็จะไม่ได้ตรวจสอบรายละเอียดและประเมินผล จึงทำให้ไม่ทราบความพึงพอใจของเด็ก ผู้ปกครอง ครู อย่างแท้จริง
3.ระบุสาเหตุที่ทำให้เกิดความต่างกันระหว่าง สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ กับ ผลที่ได้รับ
- เวลาในการใช้งานกับเด็กค่อนข้างน้อยเพราะอยู่ในช่วงปิดเทอมทำให้ขาดการดำเนินการอย่างต่อเนื่องอย่างที่คาดหวังไว้
4.บทเรียนที่ได้รับสิ่งที่เรียนรู้จากสาเหตุที่ทำให้เกิดความแตกต่างที่พบ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงาน วิธีการเติมช่องว่างจากสิ่งที่คาดว่าจะได้รับกับผลที่ได้รับ
- ได้ทราบข้อดี ข้อเสีย และได้หาทางแก้ไขปัญหาร่วมกันกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนร่วมงาน ได้ข้อเสนอแนะจากผู้รู้ ส่งผลให้ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆเพิ่มขึ้นจากเดิมพัฒนาไปในทางที่ถูกมากขึ้น
6.นักศึกษาได้มีการพัฒนาบุคลิกภาพของครูปฐมวัยอย่างไรบ้าง ระหว่างการทำกิจกรรมเล่านิทาน การทำใบงาน และการสื่อสารในกิจกรรมดังกล่าว
- มีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพไปในทางที่ดีขึ้น ได้รู้จุดแข็ง จุดอ่อน ของตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมชั้นเรียน เด็ก ผู้ปกครอง เพิ่มมากขึ้นอย่างเป็นระบบกว่าเดิม
7.คุณธรรม จริยธรรม และ จริยศาสตร์ด้านใดบ้างที่เกิดขึ้นระหว่างการทำกิจกรรมดังกล่าว
1.ครูต้องมีความขยันหมั่นเพียร
2.ครูต้องมีวินัยตนเอง
3.ครูต้องรู้จักปรับปรุงตนเอง
4.ครูต้องให้ความช่วยเหลือผู้อื่น
5.ครูต้องบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน
6.ครูต้องรู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
7.ครูต้องมีความกตัญญูกตเวที
8.ครูต้องไม่ประมาท
9.ครูต้องมีสัจจะและแสดงความจริงใจ
10.ครูต้องมีความเมตตากรุณา
11.ครูต้องมีความอดทน อดกลั้น
12.ครูต้องมีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา
13.ครูต้องมีการให้อภัย
14.ครูต้องประหยัดและอดออม
15.ครูต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
16.ครูต้องมีความรับผิดชอบ
17.ครูต้องจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
8. แฟ้มผลงานที่ทำขึ้นสามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานตอบมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยตอนตรวจประกันคุณภาพได้อย่างไรบ้าง. - มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเด็กอย่างเต็มศักยภาพ เน้นคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ - มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล - ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทอย่างเต็มศักยภาพอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล