หน้าปก
ฉากที่ 5
ฉากที่1
ฉากที่ 2
ฉากที่3
ฉากที่ 4
ฉากที่ 6
หนูอายผู้ซื่อสัตย์
นิทานคุณธรรม จริยธรรม ยึดหลักค่านิยม12ประการ ด้านความซื่อสัตย์
เรื่องหนูอายผู้ซื่อสัตย์
ณ หมู่บ้านแสนสุขแห่งหนึ่งมีเด็กผู้หญิงตัวเล็กๆแก้มป่องผมเปียคนหนึ่งชื่อหนูอายหนูอายมีเพื่อนสนิทชื่อเจ้าจอร์จ
วันหนึ่งหนูอายกับเจ้าจอร์จชวนกันไปซื้อขนมบ้านป้านิ่ม
พอถึงบ้านป้านิ่มหนูอายเลือกซื้อขนม3อย่างเป็นเงิน3บาท
หนูอายเอาเงินเหรียญ10ให้ป้านิ่ม ป้านิ่มทอนเงินให้หนูอาย9บาท
ระหว่างทางเดินกลับบ้านหนูอายนับดูเงินที่ป้านิ่มทอนให้แล้วพูดขึ้นว่า
หนูอาย นี่จอร์จดูสิป้านิ่มทอนเงินให้เราเกินตั้ง2บาท
เจ้าจอร์ดีจังเลยหนูอายเอาไปซื้อขนมอีกดีกว่าเย้ๆ
หนูอาย ไม่ดีหรอกจอร์จเราจะเอาไปคืนป้านิ่มเพราะป้านิ่มคงจะขาดทุน
ที่ทอนเงินเกินให้เรา
เจ้าจอร์จ น่าเสียดายจังเราว่าเอาไปซื้อขนมกินดีกว่าหนูอาย
หนูอาย แต่คุณครูนิภาสอนว่าเราไม่ควรเอาของที่ไม่ใช่ของเราเพราะความซื่อสัตย์เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดเพราะคนที่เราเอาของเค้ามาเค้าต้องเดือดร้อนแน่นอนนะจอร์จ อย่างน้อยเราก็ควรมีความซื่อสัตย์ต่อตัวเราเองด้วย
จอร์จก็แล้วแต่หนูอายก็แล้วกันนะ งั้นเรารีบเอาไปคืนป้านิ่มเถอะหนูอาย
จากนั้นหนูอายและจอร์จก็วิ่งนำเงินทอนที่เกินมาไปคืนป้านิ่ม
หนูอายป้านิ่มคะป้านิ่มทอนเงินเกินให้หนู2บาทค่ะหนูเอามาคืนป้าค่ะ
ป้านิ่ม ขอบใจหนูมากจ้ะถ้ามีเด็กดีที่ซื่อสัตย์เหมือนหนูอายและเจ้าจอร์จคงจะดีป้านิ่มภูมิใจแทนคุณพ่อคุณแม่หนูจริงๆจ้าที่มีลูกที่ดีเหมือนหนู
ป้านิ่มชมหนูอายและยื่นขนมเป็นรางวัลเด็กดีให้หนูอายและจอร์จหนูอายและจอร์จไหว้ขอบคุณและรับขนมจากป้านิ่ม ทั้งสองรู้สึกภูมิใจในความดีที่ทำครั้งนี้เป็นอย่างมาก
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ความซื่อสัตย์ทำให้เราเป็นคนที่มีคุณค่ามากขึ้น
เรื่องหนูอายผู้ซื่อสัตย์
ณ หมู่บ้านแสนสุขแห่งหนึ่งมีเด็กผู้หญิงตัวเล็กๆแก้มป่องผมเปียคนหนึ่งชื่อหนูอายหนูอายมีเพื่อนสนิทชื่อเจ้าจอร์จ
วันหนึ่งหนูอายกับเจ้าจอร์จชวนกันไปซื้อขนมบ้านป้านิ่ม
พอถึงบ้านป้านิ่มหนูอายเลือกซื้อขนม3อย่างเป็นเงิน3บาท
หนูอายเอาเงินเหรียญ10ให้ป้านิ่ม ป้านิ่มทอนเงินให้หนูอาย9บาท
ระหว่างทางเดินกลับบ้านหนูอายนับดูเงินที่ป้านิ่มทอนให้แล้วพูดขึ้นว่า
หนูอาย นี่จอร์จดูสิป้านิ่มทอนเงินให้เราเกินตั้ง2บาท
เจ้าจอร์ดีจังเลยหนูอายเอาไปซื้อขนมอีกดีกว่าเย้ๆ
หนูอาย ไม่ดีหรอกจอร์จเราจะเอาไปคืนป้านิ่มเพราะป้านิ่มคงจะขาดทุน
ที่ทอนเงินเกินให้เรา
เจ้าจอร์จ น่าเสียดายจังเราว่าเอาไปซื้อขนมกินดีกว่าหนูอาย
หนูอาย แต่คุณครูนิภาสอนว่าเราไม่ควรเอาของที่ไม่ใช่ของเราเพราะความซื่อสัตย์เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดเพราะคนที่เราเอาของเค้ามาเค้าต้องเดือดร้อนแน่นอนนะจอร์จ อย่างน้อยเราก็ควรมีความซื่อสัตย์ต่อตัวเราเองด้วย
จอร์จก็แล้วแต่หนูอายก็แล้วกันนะ งั้นเรารีบเอาไปคืนป้านิ่มเถอะหนูอาย
จากนั้นหนูอายและจอร์จก็วิ่งนำเงินทอนที่เกินมาไปคืนป้านิ่ม
หนูอายป้านิ่มคะป้านิ่มทอนเงินเกินให้หนู2บาทค่ะหนูเอามาคืนป้าค่ะ
ป้านิ่ม ขอบใจหนูมากจ้ะถ้ามีเด็กดีที่ซื่อสัตย์เหมือนหนูอายและเจ้าจอร์จคงจะดีป้านิ่มภูมิใจแทนคุณพ่อคุณแม่หนูจริงๆจ้าที่มีลูกที่ดีเหมือนหนู
ป้านิ่มชมหนูอายและยื่นขนมเป็นรางวัลเด็กดีให้หนูอายและจอร์จหนูอายและจอร์จไหว้ขอบคุณและรับขนมจากป้านิ่ม ทั้งสองรู้สึกภูมิใจในความดีที่ทำครั้งนี้เป็นอย่างมาก
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ความซื่อสัตย์ทำให้เราเป็นคนที่มีคุณค่ามากขึ้น
VDO การเล่านิทาน
บันทึกสะท้อนความคิดจากการพัฒนานิทาน
บันทึกการสะท้อนคิดบทเรียนที่ได้จากการพัฒนานิทาน
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำนิทาน
- ได้เรียนรู้เทคนิคการแต่งนิทานให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยแะเรียนรู้การวาดภาพ ระบายสี
กลุ่มเป้าหมาย
-ได้เรียนรู้เทคนิคการเล่านิทานให้สนุกสนานน่าติดตาม
-ได้เรียนรู้เรื่องการทำหนังสือนิทานและสีสันที่ดึงดูดของหนังสือนิทานที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
ความรู้สึกที่มีต่อการสร้างนิทาน
-รู้สึกว่าการสร้างนิทานที่จะดึงดูดความสนใจของเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งที่ทำยากเพราะนิทานต้องมีเนื้อหาี่น่าสนใจและมีสีสันสดใสและกระตุ้นพัฒนาการของเด็กให้ได้จึงควรศึกษาหาความรู้และข้อมูลของเด็กในแต่ละช่วงวัยให้ดีจึงจะทำนิทานออกมาได้อย่างเหมาะสม
มีขั้นตอนในการสร้างนิทานอย่างไร
- หาข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างนิทาน
-ศึกษาข้อมูลของเด็ก สังเกตพฤติกรรมเด็กกำหนดวัตถุประสงค์ในการแต่งนิทาน
-วางโครงเรื่องและตัวละคร
-เตรียมอุปกรณ์
-กำหนดขนาดหนังสือนิทานแล้วตัดกระดาษวาดภาพระบายสี
-เคลือบกระดาษที่วาดภาพและะบายสีเสร็จแล้วด้วยสติกเกอร์ใส
-เจาะรูกระดาษเพื่อใส่ห่วงเข้าเล่มให้สวยงาม
-นำนิทานไปทดลองใช้และปรับปรุงแก้ไขตามความเหมาะสม
ความประทับใจในการสร้างนิทาน
-มีความประทับใจที่มีผลงานนิทานของตนเอง
-เมื่อนำไปทดลองใช้เด็กๆสนใจและตื่นเต้นกับแต่ละฉากนิทาน
-เด็กๆสามารถตั้งคำถามและตอบคำถามจากการฟังและดูเรื่องราวในนิทานได้
ปัญหาและอุปสรรค
-การที่จะกำหนดและวางโครงเรื่องให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยเป็นเรื่องที่ยากและต้องหาข้อมูลเป็นอย่างมากและการทำนิทานเกิดปัญหาเพราะยังไม่เข้าใจว่าควรเลือกสีสันแบบใหนและตัวละครแบบใหนเด็กถึงจะสนใจ
แนวทางแก้ไข
-หาข้อมูลในการทำนิทานและเมื่อทำเสร็จให้อาจารย์ช่วยตรวจสอบและติชม
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำนิทาน
- ได้เรียนรู้เทคนิคการแต่งนิทานให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยแะเรียนรู้การวาดภาพ ระบายสี
กลุ่มเป้าหมาย
-ได้เรียนรู้เทคนิคการเล่านิทานให้สนุกสนานน่าติดตาม
-ได้เรียนรู้เรื่องการทำหนังสือนิทานและสีสันที่ดึงดูดของหนังสือนิทานที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
ความรู้สึกที่มีต่อการสร้างนิทาน
-รู้สึกว่าการสร้างนิทานที่จะดึงดูดความสนใจของเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งที่ทำยากเพราะนิทานต้องมีเนื้อหาี่น่าสนใจและมีสีสันสดใสและกระตุ้นพัฒนาการของเด็กให้ได้จึงควรศึกษาหาความรู้และข้อมูลของเด็กในแต่ละช่วงวัยให้ดีจึงจะทำนิทานออกมาได้อย่างเหมาะสม
มีขั้นตอนในการสร้างนิทานอย่างไร
- หาข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างนิทาน
-ศึกษาข้อมูลของเด็ก สังเกตพฤติกรรมเด็กกำหนดวัตถุประสงค์ในการแต่งนิทาน
-วางโครงเรื่องและตัวละคร
-เตรียมอุปกรณ์
-กำหนดขนาดหนังสือนิทานแล้วตัดกระดาษวาดภาพระบายสี
-เคลือบกระดาษที่วาดภาพและะบายสีเสร็จแล้วด้วยสติกเกอร์ใส
-เจาะรูกระดาษเพื่อใส่ห่วงเข้าเล่มให้สวยงาม
-นำนิทานไปทดลองใช้และปรับปรุงแก้ไขตามความเหมาะสม
ความประทับใจในการสร้างนิทาน
-มีความประทับใจที่มีผลงานนิทานของตนเอง
-เมื่อนำไปทดลองใช้เด็กๆสนใจและตื่นเต้นกับแต่ละฉากนิทาน
-เด็กๆสามารถตั้งคำถามและตอบคำถามจากการฟังและดูเรื่องราวในนิทานได้
ปัญหาและอุปสรรค
-การที่จะกำหนดและวางโครงเรื่องให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยเป็นเรื่องที่ยากและต้องหาข้อมูลเป็นอย่างมากและการทำนิทานเกิดปัญหาเพราะยังไม่เข้าใจว่าควรเลือกสีสันแบบใหนและตัวละครแบบใหนเด็กถึงจะสนใจ
แนวทางแก้ไข
-หาข้อมูลในการทำนิทานและเมื่อทำเสร็จให้อาจารย์ช่วยตรวจสอบและติชม