บวร ประชารัฐ
องค์ประกอบ
บวร/ประชารัฐ
องค์ประกอบ บวร
บ้าน อาจหมายถึงชุมชน หน่วยทางสังคมที่สำคัญหน่วยหนึ่ง ในบ้านอาจมีผู้ใหญ่บ้านหรือกำนัน เป็นผู้นำ ผู้นำเหล่านี้จะพัฒนาทางด้านสภาพแวดล้อม ทางด้านกายภาพต่างๆภายในหมู่บ้านหรือชุมชน
วัด หน่วยทางสังคมอีกหน่วยหนึ่งที่สำคัญยิ่ง ในอดีตวัดคือศูนย์รวมของทุกๆสิ่งตั้งแต่เกิดจนตายก็ว่าได้ เกิดก็ไปวัดให้พระตั้งชื่อลูก ตั้งชื่อหลานให้ หากลูกหลานเป็นชายก็จักให้บวชเรียน เขียนอ่าน พอโตหน่อยจะออกเหย้าออกเรือน พระก็เป็นผู้ดูฤกษ์พานาทีให้อีก ไปจนวาระสุดท้ายก็สงบนิ่ง ณ มุมอันสงบของวัด
โรงเรียน หน่วยทางสังคมสุดท้ายที่จะกล่าวถึง โรงเรียนตั้งขึ้นเป็นทางการครั้งแรกในปี 2414 สมัยรัชกาลที่ 5 แต่ในสมัยก่อนหน้า วัดคือสถานบันการศึกษาของชุมชน แม้การจัดตั้งโรงเรียนขึ้นมา ชาวบ้านในชนบทก็ยังไม่นิยมส่งบุตรหลานเข้าเรียน เนื่องจากว่ายังแปลกใหม่อยู่ เนิ่นนานหลายปีกว่าชาวบ้านจะเข้าใจและยอมส่งบุตรหลานเข้าในระบบโรงเรียน
องค์ประกอบ ประชารัฐ ได้แก่
• ฝ่ายองค์กรประชาชนในท้องถิ่น (องค์กรชุมชน กลุ่ม ประชาคม ฯลฯ)
• ฝ่ายสถาบันในท้องถิ่น (วัด โรงเรียน องค์กรศาสนา สถานศึกษา ฯลฯ)
• ฝ่ายบริหารท้องถิ่น (อบต. เทศบาล กำ นัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ)
• ฝ่ายหน่วยงานรัฐ (ราชการส่วนภูมิภาค หน่วยงาน รัฐจากส่วนกลาง ฯลฯ)
• ฝ่ายประชาสังคมนอกท้องถิ่น (นักพัฒนา นักวิชาการ นักวิชาชีพ ธุรกิจ สื่อ ฯลฯ
“ประชารัฐ” ระดับเหนือกว่าท้องถิ่น (อำเภอ จังหวัด ฯลฯ) ควรประกอบด้วย
• เครือข่าย “ประชารัฐ” ระดับท้องถิ่น (เครือข่ายประชารัฐ ตำ บล/ เทศบาล)
องค์ประกอบ บวร
บ้าน อาจหมายถึงชุมชน หน่วยทางสังคมที่สำคัญหน่วยหนึ่ง ในบ้านอาจมีผู้ใหญ่บ้านหรือกำนัน เป็นผู้นำ ผู้นำเหล่านี้จะพัฒนาทางด้านสภาพแวดล้อม ทางด้านกายภาพต่างๆภายในหมู่บ้านหรือชุมชน
วัด หน่วยทางสังคมอีกหน่วยหนึ่งที่สำคัญยิ่ง ในอดีตวัดคือศูนย์รวมของทุกๆสิ่งตั้งแต่เกิดจนตายก็ว่าได้ เกิดก็ไปวัดให้พระตั้งชื่อลูก ตั้งชื่อหลานให้ หากลูกหลานเป็นชายก็จักให้บวชเรียน เขียนอ่าน พอโตหน่อยจะออกเหย้าออกเรือน พระก็เป็นผู้ดูฤกษ์พานาทีให้อีก ไปจนวาระสุดท้ายก็สงบนิ่ง ณ มุมอันสงบของวัด
โรงเรียน หน่วยทางสังคมสุดท้ายที่จะกล่าวถึง โรงเรียนตั้งขึ้นเป็นทางการครั้งแรกในปี 2414 สมัยรัชกาลที่ 5 แต่ในสมัยก่อนหน้า วัดคือสถานบันการศึกษาของชุมชน แม้การจัดตั้งโรงเรียนขึ้นมา ชาวบ้านในชนบทก็ยังไม่นิยมส่งบุตรหลานเข้าเรียน เนื่องจากว่ายังแปลกใหม่อยู่ เนิ่นนานหลายปีกว่าชาวบ้านจะเข้าใจและยอมส่งบุตรหลานเข้าในระบบโรงเรียน
องค์ประกอบ ประชารัฐ ได้แก่
• ฝ่ายองค์กรประชาชนในท้องถิ่น (องค์กรชุมชน กลุ่ม ประชาคม ฯลฯ)
• ฝ่ายสถาบันในท้องถิ่น (วัด โรงเรียน องค์กรศาสนา สถานศึกษา ฯลฯ)
• ฝ่ายบริหารท้องถิ่น (อบต. เทศบาล กำ นัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ)
• ฝ่ายหน่วยงานรัฐ (ราชการส่วนภูมิภาค หน่วยงาน รัฐจากส่วนกลาง ฯลฯ)
• ฝ่ายประชาสังคมนอกท้องถิ่น (นักพัฒนา นักวิชาการ นักวิชาชีพ ธุรกิจ สื่อ ฯลฯ
“ประชารัฐ” ระดับเหนือกว่าท้องถิ่น (อำเภอ จังหวัด ฯลฯ) ควรประกอบด้วย
• เครือข่าย “ประชารัฐ” ระดับท้องถิ่น (เครือข่ายประชารัฐ ตำ บล/ เทศบาล)