บวร/ประชารัฐ
องค์ประกอบบวร
บวรประกอบด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่าง 'โรงเรียน' กับ 'วัด' มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสังคมไทยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เรียกว่าตั้งแต่เกิดจนตายก็ว่าได้ 'บ้าน วัด โรงเรียน' หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า 'บวร' จึงเป็นเหมือนทุนมรดกทางสังคมที่มีมาคู่สังคมไทย ที่ผ่านมามีการนำแนวคิด 'บวร' มาปรับใช้ สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง บริหารจัดการของคนในท้องถิ่นที่ร่วมกันเป็นเจ้าของ โดยพยายามนำองค์กรและสถาบันหลักในชุมชนท้องถิ่นมาเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนา 3 สถาบัน คือ สถาบันการปกครอง คือ บ้าน สถาบันศาสนา คือ วัด และสถาบันการศึกษา คือ โรงเรียน สถาบันทั้ง 3 จึงมีความสัมพันธ์กันในทางสังคม และเป็นตัวเชื่อมโยงกิจกรรมในชุมชนด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เข้าไว้ด้วยกัน ดังเช่น โรงเรียนบ้านนาแก อ.เมือง จ.สกลนคร และโรงเรียนอีกหลายแห่ง ที่นำทั้งสามเสาหลักมาช่วยเหลือเกื้อxxxลกัน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง
ประชารัฐ ประกอบด้วย
ปัจจุบัน “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” ได้มีเข้ามามี บทบาทสำคัญ ในการบริหารราชการแผ่นดินยุคใหม่ เพราะเป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการงบประมาณ ดูแลทรัพย์สินและกิจการต่างๆ ของชุมชน ทั้งทางด้าน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม เพื่ออำนวยประโยชน์สุขแก่ชุมชน อันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิต ของประชาชนโดยตรง เป็นกลจักรสำคัญที่จะขับเคลื่อนภาระกิจตามนโยบายของภาครัฐในทุกระดับ ดังนั้นหากรัฐบาลยิ่งมีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรนี้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากเท่าไหร ่ก็ยิ่งจะประสบความสำเร็จในการบริหารปกครอง ประเทศได้ดีเท่านั้น อันส่งผลต่อความพึงพอใจของประชาชนต่อรัฐบาล อันเป็นหัวใจสำคัญของการบริหารประเทศ อีกทั้งยังจะสะท้อนกลับมาเป็นคะแนนนิยมของผู้มีสิทธิ์ในการเลือกตั้งที่มี ต่อผู้สมัครผู้แทนราษฏร และพรรคการเมือง ครั้งต่อไป และกุญแจที่จะไขประตูสู่ความสำเร็จของภาระกิจอันสำคัญยิ่งนี้ จำเป็นต้องมีองค์ประกอบหลักสำคัญ ที่ขาดไม่ได้ 3 ส่วน นั่นก็คือ
1. นโยบายที่ดี มีประสิทธิภาพ และการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอในการ ดำเนินการตามนโยบายที่อำนวยประโยชน์ ที่ได้วางแผน หรือสัญญาไว้กับประชาชน
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง มีประสิทธิผล และการประเมินผลการทำงาน รับรู้ถึงปัญหาและสภาพความเป็นไป สามารถติดตามความเคลื่อนไหวว่าภาระกิจที่มอบหมายไปนั้น ได้ถูกนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเป็นรูปธรรมหรือไม่ เพื่อสามารถกำหนดกลยุทธและแก้ไขปรับปรุง เพิ่มเติมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ประเด็นสุดท้ายที่สำคัญที่สุด นั้นคือวัดผลที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและป็นระบบว่าการดำเนินการตามนโยบาย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว ผลที่เกิดขึ้นส่งผลทางด้านบวกหรือลบ ต่อทัศนคติที่ประชาชนมีต่อคณะผู้บริหารและรัฐบาลอย่างไร มากหรือน้อยเท่าไหร่? ซึ่งจะส่งผลต่อความนิยมต่อพรรคการเมือง ต่อตัวผู้สมัคร สส.และ รัฐบาลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ความสัมพันธ์ระหว่าง 'โรงเรียน' กับ 'วัด' มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสังคมไทยมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เรียกว่าตั้งแต่เกิดจนตายก็ว่าได้ 'บ้าน วัด โรงเรียน' หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า 'บวร' จึงเป็นเหมือนทุนมรดกทางสังคมที่มีมาคู่สังคมไทย ที่ผ่านมามีการนำแนวคิด 'บวร' มาปรับใช้ สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง บริหารจัดการของคนในท้องถิ่นที่ร่วมกันเป็นเจ้าของ โดยพยายามนำองค์กรและสถาบันหลักในชุมชนท้องถิ่นมาเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนา 3 สถาบัน คือ สถาบันการปกครอง คือ บ้าน สถาบันศาสนา คือ วัด และสถาบันการศึกษา คือ โรงเรียน สถาบันทั้ง 3 จึงมีความสัมพันธ์กันในทางสังคม และเป็นตัวเชื่อมโยงกิจกรรมในชุมชนด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เข้าไว้ด้วยกัน ดังเช่น โรงเรียนบ้านนาแก อ.เมือง จ.สกลนคร และโรงเรียนอีกหลายแห่ง ที่นำทั้งสามเสาหลักมาช่วยเหลือเกื้อxxxลกัน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง
ประชารัฐ ประกอบด้วย
ปัจจุบัน “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” ได้มีเข้ามามี บทบาทสำคัญ ในการบริหารราชการแผ่นดินยุคใหม่ เพราะเป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการงบประมาณ ดูแลทรัพย์สินและกิจการต่างๆ ของชุมชน ทั้งทางด้าน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม เพื่ออำนวยประโยชน์สุขแก่ชุมชน อันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิต ของประชาชนโดยตรง เป็นกลจักรสำคัญที่จะขับเคลื่อนภาระกิจตามนโยบายของภาครัฐในทุกระดับ ดังนั้นหากรัฐบาลยิ่งมีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรนี้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากเท่าไหร ่ก็ยิ่งจะประสบความสำเร็จในการบริหารปกครอง ประเทศได้ดีเท่านั้น อันส่งผลต่อความพึงพอใจของประชาชนต่อรัฐบาล อันเป็นหัวใจสำคัญของการบริหารประเทศ อีกทั้งยังจะสะท้อนกลับมาเป็นคะแนนนิยมของผู้มีสิทธิ์ในการเลือกตั้งที่มี ต่อผู้สมัครผู้แทนราษฏร และพรรคการเมือง ครั้งต่อไป และกุญแจที่จะไขประตูสู่ความสำเร็จของภาระกิจอันสำคัญยิ่งนี้ จำเป็นต้องมีองค์ประกอบหลักสำคัญ ที่ขาดไม่ได้ 3 ส่วน นั่นก็คือ
1. นโยบายที่ดี มีประสิทธิภาพ และการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอในการ ดำเนินการตามนโยบายที่อำนวยประโยชน์ ที่ได้วางแผน หรือสัญญาไว้กับประชาชน
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติอย่างจริงจัง มีประสิทธิผล และการประเมินผลการทำงาน รับรู้ถึงปัญหาและสภาพความเป็นไป สามารถติดตามความเคลื่อนไหวว่าภาระกิจที่มอบหมายไปนั้น ได้ถูกนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเป็นรูปธรรมหรือไม่ เพื่อสามารถกำหนดกลยุทธและแก้ไขปรับปรุง เพิ่มเติมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ประเด็นสุดท้ายที่สำคัญที่สุด นั้นคือวัดผลที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและป็นระบบว่าการดำเนินการตามนโยบาย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว ผลที่เกิดขึ้นส่งผลทางด้านบวกหรือลบ ต่อทัศนคติที่ประชาชนมีต่อคณะผู้บริหารและรัฐบาลอย่างไร มากหรือน้อยเท่าไหร่? ซึ่งจะส่งผลต่อความนิยมต่อพรรคการเมือง ต่อตัวผู้สมัคร สส.และ รัฐบาลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้