บทที่ 1
บทที่ 1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย
เนื้อหาโดยสรุป
ความหมายของทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย
หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยตั้งแต่วัยแรกเกิดจนถึง 5 ขวบที่ได้รับการพัฒนาส่งเสริมในการปรับตัว และมีพฤติกรรมด้านความคิด ความรู้สึกและความสามารถในการแสดงออกอย่างเหมาะสม สามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีความสุข
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะเด็กปฐมวัย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะชีวิตด้านอารมณ์และสังคม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ สรุป : ผู้ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเด็กในช่วง 6 ปีแรกของชีวิตโดยเฉพาะผู้ปกครองทำหน้าที่เลี้ยงดูเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพเด็ก เช่น ความสมบูรณ์ด้านอามรณ์ด้านจิตใจของเด็ก
ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน สรุป : ผู้ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเด็กในช่วง 6 ปีแรกของชีวิตโดยเฉพาะผู้ปกครองทำหน้าที่เลี้ยงดูเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพเด็ก เช่น ความสมบูรณ์ด้านอามรณ์ด้านจิตใจของเด็ก
ทฤษฎีความผูกพันของโบลบี สรุป : การเกิดความผูกพันระหว่างเด็กและผู้เลี้ยงดู จะมีความผูกพันที่ดีในช่วงแรกของชีวิต
ทฤษฎีความผูกพันธ์ของแบนดูรา สรุป : การเรียนรู้ของมนุษย์เกิดจากการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือการเรียนรู้จากต้นแบบจำเป็นที่มีแบบที่ดีงามเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตในด้านอารมณ์และสังคม
- ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องด้านทักษะชีวิตด้านความคิด
ทฤษฎีสติปัญญาของเพียเจต์ สรุป : ทฤษฎีของเพียเจต์สามารถปฏิบัติโดยจัดสภาพแวดล้อมที่เกิดจาก โดยกระตุ้นให้เด็กเกิดจากการเรียนรู้โดยการกระทำ
ทฤษฎีพัฒนาสติปัญญาของไวกอสกี สรุป : เน้นสติปัญญาของเด็ก จะพัฒนาขึ้นจากมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม การสื่อสารช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ด้านภาษา
ทฤษฎีการพัฒนาทางจริธรรมโคลเบิร์ก สรุป : ทฤษฎีนี้เป็นการใช้เหตุผลทางจริยธรรมของบุคคลตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ โดยให้เหตุผลว่าสิ่งใดผิดสิ่งใดถูก
ทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ สรุป : ปัญญาทั้ง 9 ด้านจะมีความสัมพันธ์กันและใช้ปัญญาต่างๆร่วมกันในการทำงาน ในการพัฒนาทักษะหรือแก้ปัญหา
ความหมายของทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย
หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยตั้งแต่วัยแรกเกิดจนถึง 5 ขวบที่ได้รับการพัฒนาส่งเสริมในการปรับตัว และมีพฤติกรรมด้านความคิด ความรู้สึกและความสามารถในการแสดงออกอย่างเหมาะสม สามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และมีความสุข
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะเด็กปฐมวัย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะชีวิตด้านอารมณ์และสังคม
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ สรุป : ผู้ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเด็กในช่วง 6 ปีแรกของชีวิตโดยเฉพาะผู้ปกครองทำหน้าที่เลี้ยงดูเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพเด็ก เช่น ความสมบูรณ์ด้านอามรณ์ด้านจิตใจของเด็ก
ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน สรุป : ผู้ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเด็กในช่วง 6 ปีแรกของชีวิตโดยเฉพาะผู้ปกครองทำหน้าที่เลี้ยงดูเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพเด็ก เช่น ความสมบูรณ์ด้านอามรณ์ด้านจิตใจของเด็ก
ทฤษฎีความผูกพันของโบลบี สรุป : การเกิดความผูกพันระหว่างเด็กและผู้เลี้ยงดู จะมีความผูกพันที่ดีในช่วงแรกของชีวิต
ทฤษฎีความผูกพันธ์ของแบนดูรา สรุป : การเรียนรู้ของมนุษย์เกิดจากการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือการเรียนรู้จากต้นแบบจำเป็นที่มีแบบที่ดีงามเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตในด้านอารมณ์และสังคม
- ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องด้านทักษะชีวิตด้านความคิด
ทฤษฎีสติปัญญาของเพียเจต์ สรุป : ทฤษฎีของเพียเจต์สามารถปฏิบัติโดยจัดสภาพแวดล้อมที่เกิดจาก โดยกระตุ้นให้เด็กเกิดจากการเรียนรู้โดยการกระทำ
ทฤษฎีพัฒนาสติปัญญาของไวกอสกี สรุป : เน้นสติปัญญาของเด็ก จะพัฒนาขึ้นจากมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม การสื่อสารช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ด้านภาษา
ทฤษฎีการพัฒนาทางจริธรรมโคลเบิร์ก สรุป : ทฤษฎีนี้เป็นการใช้เหตุผลทางจริยธรรมของบุคคลตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ โดยให้เหตุผลว่าสิ่งใดผิดสิ่งใดถูก
ทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ สรุป : ปัญญาทั้ง 9 ด้านจะมีความสัมพันธ์กันและใช้ปัญญาต่างๆร่วมกันในการทำงาน ในการพัฒนาทักษะหรือแก้ปัญหา