นางสาวราตรี เพชรราน
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
นางสาวราตรี เพชรราน. รหัสนักศึกษา 571231321054 ห้อง 1
นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขา วิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง. ตามโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาสวนดุสิต
ตำแหน่ง ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครตรัง. สังกัดเทศบาลนครตรัง
ตำบลทับเที่ยง. อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
นางสาวราตรี เพชรราน. รหัสนักศึกษา 571231321054 ห้อง 1
นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขา วิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง. ตามโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาสวนดุสิต
ตำแหน่ง ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครตรัง. สังกัดเทศบาลนครตรัง
ตำบลทับเที่ยง. อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
จำนวนผู้ดูแลเด็ก
ครู คศ. 2 จำนวน 4 คน
ครู คศ. 1 จำนวน 11 คน
ผู้ดูแลเด็ก. จำนวน. 7 คน
ประวัติการศึกษา
ประวัติการศึกษา
- กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง ตามโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
- ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์บัณฑิต สาขาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
- มัธยมศึกษา โรงเรียนสภาราชินี อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
- ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านควนปริง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
- กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง ตามโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
- ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์บัณฑิต สาขาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
- มัธยมศึกษา โรงเรียนสภาราชินี อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
- ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านควนปริง อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครตรัง
นายอภิรักษ์ นาคฤทธิ์
ความเป็นมาศูนย์พัฒานาเด็กเล็กเทศบาลนครตรัง
ความเป็นมาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครตรัง
เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายด้านการจัดการศึกษาของเทศบาลนครตรัง ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียน วันที่ 30 กันยายน 2540 และ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2542 ทำพิธีเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯอย่างเป็นทางการ โดยท่านนายกชาลี กางอิ่ม นายกเทศมนตรีเมืองตรัง ต่อมาเทศบาลเมืองตรัง ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลนครตรัง เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2542 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลเมืองตรัง ได้เปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครตรัง
งบการก่อสร้าง
สำหรับงบประมาณในการดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครตรัง
มีรายละเอียดดังนี้
1. อาคารเรียน 34,900,000 บาท
2. ครุภัณฑ์ 4,000,000 บาท
3. เครื่องปรับอากาศ 28 เครื่อง 919,772 บาท
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการแบ่งภาระบิดา มารดา หรือผู้ปกครองทางด้านเศรษฐกิจและการเลี้ยงดูบุตรธิดา
2.เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาให้แก่เด็กเล็ก
3.เพื่อให้มีพื้นฐานในการศึกษาระดับชั้นอนุบาล
อาคารเรียน แบ่งเป็น 5 อาคาร ดังนี้
อาคาร A เป็นตึก 2 ชั้น ประกอบด้วย
ชั้นล่าง อาคารเรียน จำนวน 4 ห้องเรียน
ชั้นบนเป็นอาคารสำนักงาน
อาคาร B เป็นสระว่ายน้ำ และอาคารอเนกประสงค์
อาคาร C เป็นห้องเรียน จำนวน 10 ห้องเรียน
อาคาร D สำหรับเด็กเล็กรับประทานอาหาร
อาคาร E เป็นอาคารสำหรับประกอบอาหารและเก็บวัสด
เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายด้านการจัดการศึกษาของเทศบาลนครตรัง ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียน วันที่ 30 กันยายน 2540 และ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2542 ทำพิธีเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯอย่างเป็นทางการ โดยท่านนายกชาลี กางอิ่ม นายกเทศมนตรีเมืองตรัง ต่อมาเทศบาลเมืองตรัง ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลนครตรัง เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2542 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลเมืองตรัง ได้เปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครตรัง
งบการก่อสร้าง
สำหรับงบประมาณในการดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครตรัง
มีรายละเอียดดังนี้
1. อาคารเรียน 34,900,000 บาท
2. ครุภัณฑ์ 4,000,000 บาท
3. เครื่องปรับอากาศ 28 เครื่อง 919,772 บาท
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการแบ่งภาระบิดา มารดา หรือผู้ปกครองทางด้านเศรษฐกิจและการเลี้ยงดูบุตรธิดา
2.เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาให้แก่เด็กเล็ก
3.เพื่อให้มีพื้นฐานในการศึกษาระดับชั้นอนุบาล
อาคารเรียน แบ่งเป็น 5 อาคาร ดังนี้
อาคาร A เป็นตึก 2 ชั้น ประกอบด้วย
ชั้นล่าง อาคารเรียน จำนวน 4 ห้องเรียน
ชั้นบนเป็นอาคารสำนักงาน
อาคาร B เป็นสระว่ายน้ำ และอาคารอเนกประสงค์
อาคาร C เป็นห้องเรียน จำนวน 10 ห้องเรียน
อาคาร D สำหรับเด็กเล็กรับประทานอาหาร
อาคาร E เป็นอาคารสำหรับประกอบอาหารและเก็บวัสด